ฟิสิกส์มูลฐานสำหรับวิศวกร

Fundamental of Physics for Engineers

เข้าใจเรื่องเวกเตอร์ แรง การเคลื่อนที่แบบต่างๆ โมเมนตัมและพลังงาน ระบบอนุภาค สมบัติเชิงกลของสารและคุณสมบัติของของไหล เข้าใจเรื่องอุณหพลศาสตร์เบื้องต้น มีทักษะในการแก้ปัญหาโจทย์ทางวิทยาศาสตร์ ประยุกต์วิชา ฟิสิกส์ประยุกต์สำหรับวิศวกรกับชีวิตประจำวัน วิชาชีพหรือเทคโนโลยีใหม่ๆได้ มีเจตคติต่อวิทยาศาสตร์โดยใช้ความรู้ทางฟิสิกส์
1.  ปลูกฝังการคิดอย่างมีระบบและมีเหตุผล
2.  ส่งเสริมความให้มีความรู้ไปใช้ในวิชาชีพและเป็นพื้นฐานในการศึกษาระดับสูงต่อไป
3.  สามารถนำความรู้ไปใช้ในวิชาชีพและเป็นพื้นฐานในการศึกษาระดับสูงต่อไป
4.  สามารถนาความรู้ไปประยุกต์ในชีวิตประจำวัน
ศึกษาและปฏิบัติการเกี่ยวกับความรู้พื้นฐานทางฟิสิกส์ หน่วยทางฟิสิกส์ ปริมาณสเกลาร์ ปริมาณเวกเตอร์ การเคลื่อนที่ของวัตถุ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน งาน พลังงาน กำลัง โมเมนตัมและการชน การเคลื่อนที่ของวัตถุแข็งเกร็ง คุณสมบัติของของไหล หลักการเบื้องต้นของอุณหพลศาสตร์
    Study and Practice of fundamental physics, physics units, scalars and vectors, motion of objects, Newton’s laws of motion, work, energy, power, momentum and collision, rigid body motion, properties of fluid, basic concepts of thermodynamics.
1 ชั่วโมง/สัปดาห์
1.1 เข้าใจและซาบซึ้งในวัฒนธรรมไทย  และตระหนักในคุณค่าของระบบคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต
1.2 มีวินัย ตรงต่อเวลา  รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม  เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับ ต่างๆ ขององค์กรและสังคม
1.3 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม  สามารถทำงานเป็นหมู่คณะ  สามารถแก้ไข  ข้อขัด แย้งตามลำดับความสำคัญ เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น  รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ ˜
1.4 สามารถวิเคราะห์และประเมินผลกระทบจากการใช้ความรู้ทางวิศวกรรมต่อบุคคล องค์กร สังคม และสิ่งแวดล้อม
1.5 มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ   และมีความรับผิดชอบในฐานะผู้ประกอบ วิชาชีพรวมถึงเข้าใจถึงบริบททางสังคมของวิชาชีพวิศวกรรมในแต่ละสาขา ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน  ˜
1. เรียน และทำปฏิบัติการทดลองเป็นกลุ่ม แก้ไขปัญหาและร่วมกันสรุปผลการทดลองเป็นกลุ่ม
 
 
 
 
2. มอบหมายงานให้ทำภายในเวลาที่กำหนด และส่งงานตามเวลาที่กำหนด โดยกำหนดข้อตกลงร่วมกันในการวัดผลระหว่างผู้เรียนและผู้สอน
1. การให้คะแนนการเข้ำชั้นเรียน  สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาในการเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่ม
 
2. การส่งงานตรงต่อเวลา และความถูกต้องของงานที่ส่ง
2.1 มีความรู้และความเข้าใจในทางคณิตศาสตร์พื้นฐาน  วิทยาศาสตร์พื้นฐาน วิศวกรรมพื้นฐาน และเศรษฐศาสตร์ เพื่อประยุกต์ใช้กับงานทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ที่เกี่ยวข้องและการ สร้างนวัตกรรมทางเทคโนโลยี š
2.2 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการที่สำคัญ ทั้งในเชิงทฤษฎีและปฏิบัติ ในเนื้อหาของสาขาวิชาเฉพาะด้านทางวิศวกรรมš
2.3  สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ  ที่เกี่ยวข้อง  ˜
2.4 สามารถวิเคราะห์และแก้ไขปัญหา ด้วยวิธีที่เหมาะสม  รวมถึงการประยุกต์ใช้เครื่องมือที่เหมาะสม เช่น โปรแกรมคอมพิวเตอร์ เป็นต้น š
          2.5  สามารถใช้ความรู้และทักษะในสาขาวิชาของตน ในการประยุกต์แก้ไขปัญหาในงานจริงได้
1. บรรยายครอบคลุมเนื้อหาตามคำอธิบายรายวิชา เปิดโอกาสให้นักศึกษามีการตั้งคาถามหรือตอบคำถาม หรือแสดงความคิดเห็นที่เกี่ยวข้องกับวิชาการ
2. ทำการปฏิบัติการทดลอง
 
3. ให้อธิบายและคำนวณความรู้ภาคทฤษฏี และนำความรู้จากภาคทฤษฏีมาอธิบาย สรุปผลของปฏิบัติการทดลองที่ทำไปได้
4. อธิบายความสัมพันธ์ของปริมาณทางฟิสิกส์ที่ได้ทำการทดลองไปได้ ในลักษณกราฟความสัมพันธ์ และสามารแสดงออกมาในรูปสมการความสัมพันธ์ (ใช้โปรแกรมพรอตและแสดงสมการเส้นแนวโน้มได้)
1. การบ้าน และแบบทดสอบย่อย
 
 
 
2. ประเมินจากงานปฏิบัติการทดลอง
3. ประเมินจาก การสอบมิดเทอม สอบปลายภาค และผลการปฏิบัติการทดลอง และสรุปผลที่ได้
 
4. ประเมินจากกราฟความสัมพันธ์ในการทดลอง
3.1  มีความคิดอย่างมีวิจารณญาณที่ดี
3.2  สามารถรวบรวม  ศึกษา วิเคราะห์ และสรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ š
3.3 สามารถคิด วิเคราะห์ และแก้ไขปัญหาด้านวิศวกรรมได้อย่างมีระบบ รวมถึงการใช้ข้อมูลประกอบการตัดสินใจในการทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
3.4 มีจินตนาการและความยืดหยุ่นในการปรับใช้องค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องอย่างเหมาะสมในการพัฒนานวัตกรรมหรือต่อยอดองค์ความรู้จากเดิมได้อย่างสร้างสรรค์  ˜
          3.5 สามารถสืบค้นข้อมูลและแสวงหาความรู้เพิ่มเติมได้ด้วยตนเอง เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต และทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางองค์ความรู้และเทคโนโลยีใหม่ ๆ  ˜
1.ทำการปฏิบัติการทดลอง ค้นคว้า สังเกต ทดลอง วิเคราะห์ และสรุปผล
 
 
 
2..ให้อธิบายความเชื่อมโยงของความรู้ในวิชาที่ศึกษากับศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง
 
3. มอบหมายงานให้นักศึกษาค้นคว้าก่อนและหลังเรียนทฤษฏี และปฏิบัติการทดลอง
1. ประเมินจากผลการทดลองปฏิบัติการที่ส่ง และการสอบ
 
 
2. ประเมินจากการบ้าน และผลการทดลองปฏิบัติการที่ส่ง และการสอบ
 
4.1 สามารถสื่อสารกับกลุ่มคนที่หลากหลาย และสามารถสนทนาทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถใช้ความรู้ในสาขาวิชาชีพมาสื่อสารต่อสังคมได้ในประเด็นที่เหมาะสม ˜
4.2 สามารถเป็นผู้ริเริ่มแสดงประเด็นในการแก้ไขสถานการณ์เชิงสร้างสรรค์ทั้งส่วนตัวและส่วนรวมพร้อมทั้งแสดงจุดยืนอย่างพอเหมาะทั้งของตนเองและของกลุ่มรวมทั้งให้ความช่วยเหลือและอำนวยความสะดวกในการแก้ไขปัญหาสถานการณ์ต่าง ๆ
4.3 สามารถวางแผนและรับผิดชอบในการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเองและ สอดคล้องกับทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง  ˜
4.4 รู้จักบทบาทหน้าที่ และความรับผิดชอบในการทำงานตามที่มอบหมาย ทั้งงานบุคคลและงานกลุ่ม   สามารถปรับตัวและทำงานร่วมกับผู้อื่นทั้งในฐานะผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมถึงสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม   สามารถวางตัวได้อย่างเหมาะสมกับความรับผิดชอบ š
         4.5 มีจิตสำนึกความรับผิดชอบด้านความปลอดภัยในการทำงาน  และการรักษา สภาพแวดล้อมต่อสังคม  š
1. มอบหมายงานรายกลุ่ม และรายงานปฏิบัติการทดลองเป็นกลุ่ม
 
 
 
 
 
 
 
 
 
2. ให้นำเสนองาน แบบฝึกหัด โดยดูความรับผิดชอบของนักศึกษาแต่ละคน
3. กำหนดขอบเขตการทำงาน และวันส่งงาน
 
 
 
 
 
4.ตรวจสอบเครื่องมือและอุปกรณ์ก่อนและหลังทำการทดลอง
1. ประเมินจากความรับผิดชอบงานกลุ่ม
 
 
 
 
 
 
 
 
2. ประเมินจากการความก้าวหน้าในงานที่มอบหมาย
3.ประเมินจากการทำงานเป็นทีม
 
 
 
 
 
4.ประเมินจากการทำการทดลองปฏิบัติการ
5.1   มีทักษะในการใช้คอมพิวเตอร์สำหรับการทำงานที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพได้เป็นอย่างดี  ˜
5.2   มีทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศทางคณิตศาสตร์ หรือการแสดงสถิติประยุกต์ ต่อการแก้ปัญหาที่เกี่ยวข้องได้อย่างสร้างสรรค์  š
5.3   สามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารที่ทันสมัยได้ อย่าง เหมาะสม และมีประสิทธิภาพ
5.4  มีทักษะในการสื่อสารข้อมูลทั้งการพูด การเขียน และการสื่อความหมายโดยใช้สัญลักษณ์
          5.5  สามารถใช้เครื่องมือการคำนวณและเครื่องมือทางวิศวกรรม เพื่อประกอบวิชาชีพในสาขาวิชาวิศวกรรมที่เกี่ยวข้องได้  š
1..มอบหมายงานกลุ่มและนำเสนอ
โดยกำหนดให้ใช้เครื่องมือตามความเหมาะสม
1.ประเมินจากผลงานการนำเสนอและการสอบ
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา
1 FUNSC115 ฟิสิกส์มูลฐานสำหรับวิศวกร
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 กิจกรรม ผลการเรียนรู้ วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของ การประเมินผล 1 2.1, 2.2, 2.3, 2.4, 3.4, 3.5 การสอบกลางภาค ปลายภาค 1 - 15 40 % 2 2.1, 2.2, 2.3, 2.4, 3.4, 3.5 การทดสอบย่อย หรือ ทดสอบในชั้นเรียน 1 - 15 15 % 3 2.1, 2.2, 2.3, 2.4, 3.2, 4.1, 4.3 ,4.4, 4.5, 5.1, 5.2, 5. ปฏิบัติการทดลอง และรายงานผลการทดลอง 1 - 15 30 % 4 2.1, 2.2, 2.3, 2.4 งานที่มอบหมาย และ/หรือ แบบฝึกหัดประจำบท 1 - 15 5 % 5 1.3, 1.5 การประเมินพฤติกรรมด้านคุณธรรม จริยธรรม 1 - 15 10 %
1. แผนกหนังสือพิเศษด้านอิเล็กทรอนิกส์. (2538). อุปกรณ์สารกึ่งตัวนำ. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชัน จำกัด.
2. ภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล. (2547). ฟิสิกส์ 1 สำหรับวิทยาศาสตร์ และ วิศวกรรมศาสตร์. ปทุมธานี: ภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล.
3. ยัง, ฮัก ดี. และ ฟรีดแมน, โรเจอร์ เอ. (2548). ฟิสิกส์ระดับอุดมศึกษา 1 [University physics with modern physics] (ปิยพงษ์ สิทธิคง, ผู้แปลและเรียบเรียง) (พิมพ์ครั้งที่ 1).  กรุงเทพฯ: เพียร์สัน เอ็ดดูเคชัน อินโดไชน่า.
4. เรย์มอนด์ เอ เซอร์เวย์ และ จอห์น ดับบิล เจเวตต์. (2559). ฟิสิกส์ 1 [Physic for scientists and engineers] (ประธานบุรณศิริ และคณะ, ผู้แปล; กีรยุทธ์ ศรีนวลจันทร์ม, ผู้เรียบเรียง) (พิมพ์ครั้งที่ 1).  กรุงเทพฯ: เซนเกจ เลินนิ่ง อินโด-ไชน่า จำกัด.
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนาแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
1 ผลการประเมินผู้สอนออนไลน์
2 กำรสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
1 ผลการเรียนของนักศึกษา
2 ติดตามงานที่มอบหมาย
3 การสังเกตการณ์สอนของผู้สอน
แผนกวิชา ฯ กำหนดให้ผู้รับผิดชอบรายวิชาและอาจารย์ผู้สอน ดำเนินการดังนี้

ปรับปรุงกลยุทธ์และวิธีการสอน ตามข้อเสนอแนะของคณะกรรมการประเมินผลการสอน ประชุมอาจารย์ผู้สอนเพื่อกำหนดแนวทางและวิธีการวัดและประเมินผล ประชุมอาจารย์ผู้สอนเพื่อจัดทำและพัฒนาเอกสารประกอบการสอน
แผนกวิชามีระบบทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษา โดยการพิจารณาจาก

ผลการประเมินการสอนโดยนักศึกษา การรายงานรายวิชาโดยอาจารย์ผู้สอน

และในระหว่างภาคเรียน จะเปิดโอกาสให้นักศึกษาได้รับทราบผลการเรียนรู้ รวมทั้งก่อนสอบปลายภาคจะมีการแจ้งผลคะแนนสะสมให้นักศึกษาได้ทราบ
ประชุมอาจารย์ผู้สอนเพื่อทบทวนเนื้อหาที่สอนและกลยุทธ์การสอนที่ใช้ และวางแผนการพัฒนาปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชาสำหรับใช้ในปีการศึกษาถัดไป