กลศาสตร์วิศวกรรมในงานระบบขนส่งทางราง

Engineering Mechanics in Railway System

1.เพื่อศึกษาหลักการเบื้องต้นของกลศาสตร์ในงานระบบขนส่งทางราง แรงและโมเมนต์ของแรง ระบบแรงและผลลัพธ์ ของระบบแรง การสมดุลและการเขียนแผนภาพวัตถุอิสระ แรงภายใต้ของไหลที่อยู่นิ่ง แรงในชิ้นส่วนของโครงสร้าง โครงกรอบและเครื่องจักรกลคิเนแมติกส์และคิเนติกส์ ของอนุภาคและวัตถุเกร็ง กฎข้อที่สองของนิวตัน งานและพลังงาน การดลและ โมเมนต์ตัม
2.เพื่อให้นักศึกษาสามารถใช้ทฤษำีทางกลศาสตร์ ในการแสดงวิธีการหาคำตอบของปัญหาขั้นพื้นฐานและขั้นประยุกต์ในงานระบบขนส่งทางราง อย่างมีเหตุผล เป็นขั้นตอน และถูกต้อง 
 
1.เพื่อพัฒนาการสอนให้สื่อไปยังนักศึกษา ให้ได้รับเนื้อหารายวิชาอย่างมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
2.เพื่อปรับเนื้อหาให้ทันสมัยยิ่งขึ้น
หลักการเบื้องต้นของกลศาสตร์ในงานระบบขนส่งทางราง แรงและโมเมนต์ของแรง ระบบแรงและผลลัพธ์ ของระบบแรง การสมดุลและการเขียนแผนภาพวัตถุอิสระ แรงภายใต้ของไหลที่อยู่นิ่ง แรงในชิ้นส่วนของโครงสร้าง โครงกรอบและเครื่องจักรกลคิเนแมติกส์และคิเนติกส์ ของอนุภาคและวัตถุเกร็ง กฎข้อที่สองของนิวตัน งานและพลังงาน การดลและ โมเมนต์ตัม
0.5 ชั่วโมง
1.ความตรงต่อเวลา
2.ความซื่อสัตย์สุจริต มีจรรยาบรรณทางวิชาชีพ
3.การให้เกียรติเพื่อนร่วมชั้นเรียนและอาจารย์
อธิบายถึงความสำคัญของการมีคุณธรรมจริยธรรมในองค์กรต่างๆ ยกตัวอย่างผลกระทบที่สามารถเกิดขึ้น ตั้งข้อตกลงในการปฏิบัติตามคุณธรรมจริยธรรมที่กำหนด ตักเตือนเมื่อผิดคุณธรรมจริยธรรม
1.ตรวจชื่อก่อนเข้าเรียน ตรวจระยะเวลาการส่งงานที่มอบหมาย
2.ตรวจการคัดลอกงาน การทุจริตระหว่างสอบ
3.ตรวจจาก การไม่รบกวนเพื่อนร่วมชั้นเรียนและอาจารย์ระหว่างสอน 
หลักการเบื้องต้นของกลศาสตร์ในงานระบบขนส่งทางราง แรงและโมเมนต์ของแรง ระบบแรงและผลลัพธ์ ของระบบแรง การสมดุลและการเขียนแผนภาพวัตถุอิสระ แรงภายใต้ของไหลที่อยู่นิ่ง แรงในชิ้นส่วนของโครงสร้าง โครงกรอบและเครื่องจักรกลคิเนแมติกส์และคิเนติกส์ ของอนุภาคและวัตถุเกร็ง กฎข้อที่สองของนิวตัน งานและพลังงาน การดลและ โมเมนต์ตัม
บรรยายผ่านจอแสดงผลแบบ Real time แสดงวิธีคิดวิธีทำอย่างเป็นขึ้นตอนเพื่อยกตัวอย่าง ตรวจสอบความเข้าใจตลอดช่วงเวลาเรียนด้วยการมอบหมายโจทย์พื้นฐาน แนะนำเมื่อทำผิดพลาด อธิบายซ้ำในส่วนที่ผิดพลาดและให้ทำอีกครั้ง
ตรวจสอบวิธีขั้นตอนการแก้ปัญหาที่มอบหมายอย่างเป็นขั้นตอน มีเหตุผล ตรงตามหลักการของเนื้อหาวิชา
1. นักศึกาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ด้านคณิตศาสตร์และกลศาสตร์เพื่อแก้ปัญหาที่ประยุกต์ไปจากการสอนในห้องเรียนได้
2. นักศึกาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ด้านคณิตศาสตร์และกลศาสตร์เพื่อแก้ปัญหาที่ประยุกต์จากโจทย์สมมุติทางวิศวกรรมขนส่งทางรางได้
ชี้แนะแนวทางการประยุกต์ แนะนำเมื่อนักศึกษาถาม
กรณีศึกษาทางการประยุกต์ที่เกี่ยวกับวิศวกรรมขนส่งทางราง แนะนำให้ศึกษาปัญหาจริงตามความสนใจ
ตรวจสอบวิธีขั้นตอนการแก้ปัญหาประยุกต์ที่มอบหมายอย่างเป็นขั้นตอน มีเหตุผล ตรงตามหลักการของเนื้อหาวิชา
สามารถแบ่งหน้าที่รับผิคชอบในการทำงานแบบกลุ่มที่รับมอบหมายอย่างเท่าเทียม/ ไม่เอาเปรียบ/ แสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล/ รับฟังความคิด/ ยอมรับในมติข้างมาก/ มีความเป็นผู้นำ/ ผู้ตาม/ รู้บทบาทหน้าที่/ ความรับผิดชอบของตนเองในงานที่มอบหมาย/ แสดงจุดยืนพอเหมาะทั้งของตนเองและของกลุ่ม/ สามารถวางแผนเพื่อบรรลุเป้าหมายของกลุ่ม
แนะนำ/ ชี้แจง ความสำคัญของการทำงานเป็นกลุ่มในองค์กรต่างๆและในอานคตทำงาน ยกตัวอย่างผลกระทบถ้าขาดทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและการทำงานเป็นกลุ่ม ตักเตือนชี้แนะเมื่อแสเงพฤติกรรมไม่เหมาะสม ในการทำงานเป็นกลุ่ม
การแสดงถึงการดำเนินหน้าที่รายบุคคลร่วมกับกลุ่ม ผลการวางแผน การลงมติ ผลรายงานส่วนบุคคลที่สอดคล้องกับงานกลุ่ม 
1.สามารถใช้อุปกรณ์ช่วยคำนวณ พร้อมทั้งแสดงขั้นตอนการคำนวณอย่างมีที่มาและมีเหตุผล และคำนวณได้อย่างถูกต้อง
2.สามารถประยุกต์ใช้พื้นฐานทางคณิตศาสตร์ เช่น ตรีโกณมิติ การแก้สมการหลายตัวแปร เลขาคณิต เลขยกกำลัง ทศนิยม การย้ายข้างสมการ ในโจทย์ปัญหาทางกลศาสตร์วิศวกรรมขนส่งทางรางได้
ยกตัวอย่างการคำนวณ แสดงวิธีการคำนวณอย่างละเอียด
การแสดงสูตร ตัวแปร ขั้นตอนการคำนวณ และความถูกต้องของการคำนวณ
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 2 5 1 2 4 3 3 5
1 ENGRT003 กลศาสตร์วิศวกรรมในงานระบบขนส่งทางราง
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 ผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping) ข้อที่ 1.5, 2.1, 2.3, 2.5, 3.3 และ 5.5 สอบกลางภาค 10 35
2 ผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping) ข้อที่ 1.5, 2.1, 2.3, 2.5, 3.3 และ 5.5 สอบปลายภาค 17 35
3 ผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping) ข้อที่ 1.5, 2.1, 2.3, 2.5, 3.3 , 4.4 และ 5.5 โจทย์ระหว่างชั้นเรียน การบ้าน ตลอดเทอม 15
4 ผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping) ข้อที่ 1.5, 2.1, 2.3, 2.5, 3.3 , 4.4 และ 5.5 การเข้าชั้นเรียน การส่งงานตรงเวลา ตลอดเทอม 15
 1. Engineering Mechanics (Statics)                    R.C. HIBBELER  2. Engineering Mechanics (Dynamics)               R.C. HIBBELER  3. Engineering Mechanics (Statics)                    J.L. MERIAM   L.G. KRAIGE  4. Engineering Mechanics (Dynamics)               J.L. MERIAM   L.G. KRAIGE