ระบบโฟโตโวลตาอิก

Photovoltaic System

 
1.1 เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับแหล่งกำเนิดพลังงานแสงอาทิตย์ และการวัดความเข้มรังสีดวงอาทิตย์ 1.2.เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการทำงานและองค์ประกอบพื้นฐานของเซลล์แสงอาทิตย์ 1.3.เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจและสามารถอธิบายเกี่ยวกับหลักการทำงานและองค์ประกอบพื้นฐานของตัวรับรังสีอาทิตย์แบบต่างๆ 1.4.เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจ และมีความสามารถในการปฏิบัติการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ได้ 1.5.เพื่อให้ผู้เรียนสามารถนำความรู้ ความเข้าใจ รวมทั้งประสบการณ์ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้
เพื่อให้เนื้อหาในบางบทมีความทันสมัยเพิ่มขึ้น
ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับ ทฤษฎีเบื้องต้นของดวงอาทิตย์ โครงสร้างของเซลล์แสงอาทิตย์ วงจรสมมูล ฟิลล์แฟคเตอร์และประสิทธิภาพของเซลล์แสงอาทิตย์ ลักษณะกระแส – แรงดัน สมบัติของการต่อเซลล์ เทคโนโลยีเซลล์แสงอาทิตย์ มาตรฐานและการทดสอบเซลล์แสงอาทิตย์ อุปกรณ์ประกอบระบบโฟโตโวลตาอิก การประยุกต์ใช้เซลล์แสงอาทิตย์ การออกแบบระบบโฟโตโวลตาอิก ระบบผลิตไฟฟ้าอิสระ ระบบผลิตไฟฟ้าบนหลังคา ระบบโรงไฟฟ้า ระบบสูบน้ำ การวิเคราะห์ระบบและประเมินราคาของระบบเซลล์แสงอาทิตย์
ให้คำปรึกษาผ่าน Social Media ให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคลหรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ (เฉพาะรายที่ทำการนัดหมาย)
1.1.1  ตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต 1.1.2 มีวินัย ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม 1.1.3 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นหมู่คณะ เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น 1.1.4 มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ เข้าใจถึงบริบททางสังคมของวิชาชีพวิศวกรรม
1.2.1 ปลูกฝังให้นักศึกษามีระเบียบวินัยโดยเน้นการเข้าชั้นเรียนให้ตรงเวลาตลอดจนการแต่งกายที่เป็นไปตามระเบียบ 1.2.2 ฝึกให้รู้หน้าที่ของการเป็นผู้นำกลุ่มและการเป็นสมาชิกกลุ่ม 1.2.3 สอดแทรกเรื่องคุณธรรม จริยธรรมในการสอนรายวิชา 1.2.4 จัดกิจกรรมส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม เช่น บำเพ็ญประโยชน์เกี่ยวกับรายวิชาที่ศึกษา
1.3.1 ประเมินจากการตรงเวลาของนักศึกษาในภาพเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที่มอบหมายและการร่วมกิจกรรม 1.3.2 ประเมินจากการมีวินัยและพร้อมเพรียงของนักศึกษาในการเข้าร่วมกิจกรรมเสริม 1.3.3 ปริมาณการกระทำทุจริตในการสอบ 1.3.4 ประเมินจากความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
2.1.1 มีความรู้และความเข้าใจทางวิศวกรรมพื้นฐานเพื่อประยุกต์ใช้กับงานเกี่ยวข้อง และการสร้างนวัตกรรมทางเทคโนโลยี 2.1.2 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการที่สำคัญ ทั้งในเชิงทฤษฎีและปฏิบัติในเนื้อหาของสาขาวิชาเฉพาะด้านทางวิศวกรรม 2.1.3 วิเคราะห์และแก้ไขปัญหา ด้วยวิธีการที่เหมาะสม รวมถึงการประยุกต์ใช้เครื่องมือที่เหมาะสม
2.2.1 แบบบรรยาย/อภิปรายหรือเทคโนโลยีสารสนเทศ โดยเน้นหลักการและประยุกต์ทางปฎิบัติในสภาพแวดล้อมจริง ตามสถานการณ์ปัจจุบันที่ทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี 2.2.3 เรียนรู้จากสถานการณ์จริงโดยการศึกษาดูงาน 2.2.4 เชิญผู้เชี่ยวชาญที่มีประสบการณ์ตรงมาเป็นวิทยากรพิเศษเฉพาะเรื่อง 2.2.5 ตลอดจนการฝึกปฏิบัติงานในห้องทดลองและภาคสนาม
2.3.1 การทดสอบย่อย กลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน 2.3.2 ประเมินจากฝึกปฏิบัติงานในห้องทดลองและภาคสนาม 2.3.3 ประเมินจากการนาเสนอผลการค้นคว้าข้อมูล กรณีศึกษา หรือโจทย์จาก Problem – Based Learning
3.1.1 มีความคิดอย่างมีวิจารณญาณที่ดี 3.1.2 สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และสรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ 3.1.3 มีจินตนาการและความยืดหยุ่นในการพัฒนานวัตกรรมหรือต่อยอดองค์ความรู้จากเดิมได้อย่างสร้างสรรค์
3.2.1   การมอบให้นักศึกษาทำการค้นคว้าเนื้อหาที่ได้รับมอบหมาย และการนำเสนอผลงาน 3.2.2   อภิปรายกลุ่ม 3.2.3   วิเคราะห์กรณีศึกษา 
3.3.1 ประเมินจากการนำเสนอในชั้นเรียน 3.3.2 การทดสอบโดยใช้แบบทดสอบหรือสัมภาษณ์ 3.3.3 ส่งเสริมการเรียนรู้จากการแก้ปัญหา 3.3.4 สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
4.1.1 สามารถใช้ความรู้ในสาขาวิชาชีพมาสื่อสารต่อสังคมได้ในประเด็นที่เหมาะสม 4.1.2 สามารถเป็นผู้ริเริ่มแสดงประเด็นในการแก้ไขสถานการณ์เชิงสร้างสรรค์ทั้งส่วนตัวและส่วนรวม 4.1.3 สามารถวางแผนและรับผิดชอบในการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเองและสอดคล้องกับทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง 4.1.4 รู้จักบทบาท หน้าที่ และมีความรับผิดชอบในการทำงานตามที่มอบหมาย ทั้งงานบุคคลและงานกลุ่ม สามารถปรับตัวและทำงานร่วมกับผู้อื่นทั้งในฐานะผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.2.1 จัดให้มีการแลกเปลี่ยนความเห็นระหว่างผู้เรียนในวิชาเรียนและการนำเสนอข้อมูล 4.2.2 มอบหมายงานรายกลุ่มและ/หรือรายบุคคล เช่น การค้นคว้าความก้าวล้ำของเทคโนโลยี 4.2.3 การนำเสนอรายงาน และการซักถาม-ตอบคำถาม
4.3.1 ประเมินพฤติกรรมภาวการณ์เป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี 4.3.2 ติดตามการทำงานร่วมกับสมาชิกกลุ่มของ 4.3.3 ประเมินจากผลงานการอภิปรายและเสวนา 4.3.4 ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ พฤติกรรมการระหว่างการเข้าร่วม และความสนใจ
 
5.1.1 มีทักษะในการใช้คอมพิวเตอร์ สำหรับการทำงานที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพได้เป็นอย่างดี 5.1.2 มีทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศทางคณิตศาสตร์หรือการแสดงสถิติประยุกต์ต่อการแก้ปัญหาที่เกี่ยวข้องได้อย่างสร้างสรรค์ 5.1.3 สามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่ทันสมัยได้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ
5.2.1 จัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้นักศึกษาได้วิเคราะห์สถานการณ์จำลองและสถานการณ์เสมือนจริง 5.2.2 นำเสนอการแก้ปัญหาที่เหมาะสมเรียนรู้เทคนิคจากการประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศในหลากลายสถานการณ์ที่สามารถประยุกต์ใช้ในห้องปฏิบัติการ 5.2.3 ส่งเสริมการค้นคว้า เรียบเรียงข้อมูล และนำเสนอโดยให้ความสำคัญในการอ้างอิงแหล่งที่มาของข้อมูล
5.3.1 ประเมินจากเทคนิคการนำเสนอโดยเลือกใช้เครื่องมือทางเทคโนโลยีสารสนเทศ 5.3.2 ประเมินจากความสามารถในการอธิบายถึงข้อจำกัด เหตุผลในการเลือกใช้เครื่องมือการอภิปรายที่มีการนำเสนอต่อชั้นเรียน 5.3.3 สังเกตพฤติกรรมนักศึกษาด้านความมีเหตุผล
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
ไม่มีข้อมูล