หน้าหลัก
รายวิชา
อาจารย์
หลักสูตร
มคอ.
ข้อมูลบริการ
นโยบายความปลอดภัย
ติดต่อเรา
เข้าสู่ระบบอาจารย์
เข้าสู่ระบบนักศึกษา
ฟิสิกส์พื้นฐาน 1
Fundamental Physics 1
หมวดที่ 1
ข้อมูลทั่วไป
1.รหัสและชื่อรายวิชา
รหัสรายวิชา
FUNSC105
ชื่อรายวิชาภาษาไทย
ฟิสิกส์พื้นฐาน 1
ชื่อรายวิชาภาษาอังกฤษ
Fundamental Physics 1
2.จำนวนหน่วยกิต
3( 3 - 0 - 6 )
3.หลักสูตร และประเภทของรายวิชา
14 หลักสูตร
4.อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาและอาจารย์ผู้สอน
นางสาว อรอุมา เมธาเกษร
นาย ปรัชญา นามวงค์
นางสาว อัมพิกา ราชคม
นางสาว สุจิตตรา อินทอง
นาย ศิโรจน์ ปรีชาไว
5.ภาคเรียน/ปีการศึกษา
ภาคเรียน 2 ปีการศึกษา 2566
6.รายวิชาที่ต้องเรียนมาก่อน (Pre-requisites)
-
7.รายวิชาที่ต้องเรียนพร้อมกัน (Co-requisites)
-
8.สถานที่เรียน
ตาก
9.วันที่จัดทำหรือปรับปรุงรายละเอียดของรายวิชาครั้งล่าสุด
26 มีนาคม 2567 02:50
ประเภท :
มคอ.3
สถานะการกรอกข้อมูล :
อยู่ระหว่างจัดทำ
หมวดที่ 2
จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์
1. จุดมุ่งหมายของรายวิชา
2. วัตถุประสงค์ในการพัฒนาปรับปรุงรายวิชา
หมวดที่ 3
ลักษณะและการดำเนินการ
1. คำอธิบายรายวิชา
2. จำนวนชั่วโมงที่ใช้ต่อภาคการศึกษา
บรรยาย :
สอนเสริม :
การฝึกปฏิบัติ/งานภาคสนาม/การฝึกงาน :
การศึกษาด้วยตนเอง :
3. จำนวนชั่วโมงต่อสัปดาห์ที่อาจารย์ให้คำปรึกษาและแนะนำทางวิชาการแก่นักศึกษาเป็นรายบุคคล
หมวดที่ 4
การพัฒนาผลการเรียนรู้ของนักศึกษา
1. คุณธรรม จริยธรรม
1.1 คุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา
1.2 วิธีการสอน
1.3 วิธีการประเมินผล
2. ความรู้
2.1 ความรู้ที่ต้องได้รับ
2.2 วิธีการสอน
2.3 วิธีการประเมินผล
3. ทักษะทางปัญญา
3.1 ทักษะทางปัญญา ที่ต้องพัฒนา
3.2 วิธีการสอน
3.3 วิธีการประเมินผล
4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
4.1 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ที่ต้องพัฒนา
4.2 วิธีการสอน
4.3 วิธีการประเมินผล
5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
5.1 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา
5.2 วิธีการสอน
5.3 วิธีการประเมินผล
6. ด้านทักษะพิสัย
6.1 ผลการเรียนรู้ด้านทักษะพิสัย
6.2 วิธีการสอน
6.3 วิธีการประเมินผล
หมวดที่ 5
แผนการสอนและการประเมินผล
1. แผนการสอน
สัปดาห์ที่ 1
หัวข้อ/รายละเอียด
กิจกรรมสร้างความคุ้นเคยและแบ่งกลุ่ม บทที่ 1 บทนำและเวกเตอร์บทนำฟิสิกส์ (Physics)
จำนวนชั่วโมง:
3 ชั่วโมง
กิจกรรม
- กิจกรรมทำความรู้จักอาจารย์และนักศึกษาพร้อมแบ่งกลุ่มเรียน - ชี้แจงลักษณะรายวิชา การแบ่งหน่วยเรียน กิจกรรมการเรียนการสอน วิธีการวัดและประเมินผล - สร้างข้อตกลงร่วมกันในการจัดการเรียนการสอน - แนะนำเอกสารและเว็บไซด์ที่เกี่ยวข้อง - กิจกรรมก่อนเข้าสู่บทเรียนเรื่องการหาขนาดและทิศทาง
ผู้สอน :
-
สัปดาห์ที่ 2
หัวข้อ/รายละเอียด
บทที่ 1 บทนำและเวกเตอร์ (Vectors)
จำนวนชั่วโมง:
3 ชั่วโมง
กิจกรรม
- กิจกรรมก่อนเข้าสู่บทเรียนเรื่องความเข้าใจเบื้องต้นทางฟิสิกส์ ระบบหน่วย ปริมาณทางฟิสิกส์ และเวกเตอร์ - บรรยายภาคทฤษฎีจากเอกสารประกอบการสอน พร้อมนำเสนอด้วย PowerPoint หรือ วิดีโอ - ผู้สอนให้นักศึกษาทำแบบฝึกหัด สุ่มตัวแทนเพื่อแสดงวิธีทำ อาจารย์ผู้สอนเฉลยแบบฝึกหัดพร้อมอธิบายเพิ่่มเติมในหัวข้อที่นักศึกษายังไม่ค่อยเข้าใจ เปิดโอกาสให้ซักถาม - ผู้สอนให้การบ้านส่งรายบุคคล - ท้ายชั่วโมงสอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม
ผู้สอน :
-
สัปดาห์ที่ 3
หัวข้อ/รายละเอียด
บทที่ 2 การเคลื่อนที่และกฎของนิวตัน , จลนศาสตร์ (Kinematics), ปริมาณต่าง ๆ ของการเคลื่อนที่ , การเคลื่อนที่ 1 มิติด้วยความเร่งคงที่
จำนวนชั่วโมง:
3 ชั่วโมง
กิจกรรม
- กิจกรรมก่อนเข้าสู่บทเรียนเรื่องความเร็วและความเร่ง - บรรยายภาคทฤษฎีจากเอกสารประกอบการสอน พร้อมนำเสนอด้วย PowerPoint หรือ - ผู้สอนให้นักศึกษาทำแบบฝึกหัด สุ่มตัวแทนเพื่อแสดงวิธีทำ อาจารย์ผู้สอนเฉลยแบบฝึกหัดพร้อมอธิบายเพิ่่มเติมในหัวข้อที่นักศึกษายังไม่ค่อยเข้าใจ เปิดโอกาสให้ซักถาม - ผู้สอนให้การบ้านส่งรายบุคคล - ท้ายชั่วโมงสอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม
ผู้สอน :
-
สัปดาห์ที่ 4
หัวข้อ/รายละเอียด
บทที่ 2 การเคลื่อนที่และกฎของนิวตัน วัตถุตกอย่างอิสระ, การเคลื่อนที่ 2 มิติ การเคลื่อนที่แนววงกลม พลศาสตร์ (Dynamics) มวล แรงและกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
จำนวนชั่วโมง:
3 ชั่วโมง
กิจกรรม
- กิจกรรมก่อนเข้าสู่บทเรียนเรื่องการเคลื่อนที่ 2 มิติ - บรรยายภาคทฤษฎีจากเอกสารประกอบการสอน พร้อมนำเสนอด้วย PowerPoint หรือ วิดีโอ - ผู้สอนให้นักศึกษาทำแบบฝึกหัด สุ่มตัวแทนเพื่อแสดงวิธีทำ อาจารย์ผู้สอนเฉลยแบบฝึกหัดพร้อมอธิบายเพิ่่มเติมในหัวข้อที่นักศึกษายังไม่ค่อยเข้าใจ เปิดโอกาสให้ซักถาม - ผู้สอนให้การบ้านส่งรายบุคคล - ท้ายชั่วโมงสอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม
ผู้สอน :
-
สัปดาห์ที่ 5
หัวข้อ/รายละเอียด
บทที่ 3 โมเมนตัม พลังงานและความร้อน โมเมนตัม (Momentum)
จำนวนชั่วโมง:
3 ชั่วโมง
กิจกรรม
กิจกรรมก่อนเข้าสู่บทเรียนเรื่องการชนและโมเมนตัม - บรรยายภาคทฤษฎีจากเอกสารประกอบการสอน พร้อมนำเสนอด้วย PowerPoint หรือ วิดีโอ - ผู้สอนให้นักศึกษาทำแบบฝึกหัด สุ่มตัวแทนเพื่อแสดงวิธีทำ อาจารย์ผู้สอนเฉลยแบบฝึกหัดพร้อมอธิบายเพิ่่มเติมในหัวข้อที่นักศึกษายังไม่ค่อยเข้าใจ เปิดโอกาสให้ซักถาม - ผู้สอนให้การบ้านส่งรายบุคคล - ท้ายชั่วโมงสอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม
ผู้สอน :
-
สัปดาห์ที่ 6
หัวข้อ/รายละเอียด
บทที่ 3 โมเมนตัม พลังงานและความร้อน งาน (Work) พลังงาน (Energy) กำลังงาน (Power)
จำนวนชั่วโมง:
3 ชั่วโมง
กิจกรรม
กิจกรรมก่อนเข้าสู่บทเรียนเรื่องงาน พลังงาน - บรรยายภาคทฤษฎีจากเอกสารประกอบการสอน พร้อมนำเสนอด้วย PowerPoint หรือ วิดีโอ - ผู้สอนให้นักศึกษาทำแบบฝึกหัด สุ่มตัวแทนเพื่อแสดงวิธีทำ อาจารย์ผู้สอนเฉลยแบบฝึกหัดพร้อมอธิบายเพิ่่มเติมในหัวข้อที่นักศึกษายังไม่ค่อยเข้าใจ เปิดโอกาสให้ซักถาม - ผู้สอนให้การบ้านส่งรายบุคคล - ท้ายชั่วโมงสอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม
ผู้สอน :
-
สัปดาห์ที่ 7
หัวข้อ/รายละเอียด
บทที่ 3 โมเมนตัม พลังงานและความร้อน, ผลของความร้อนต่อสิ่งต่าง ๆ,งานกับความร้อน, ปริมาณความร้อน ความจุความร้อน และ ความร้อนแฝง สอบย่อย
จำนวนชั่วโมง:
3 ชั่วโมง
กิจกรรม
- กิจกรรมก่อนเข้าสู่บทเรียนเรื่องงานกับความร้อน - บรรยายภาคทฤษฎีจากเอกสารประกอบการสอน พร้อมนำเสนอด้วย PowerPoint หรือ วิดีโอ - ผู้สอนให้นักศึกษาทำแบบฝึกหัด สุ่มตัวแทนเพื่อแสดงวิธีทำ อาจารย์ผู้สอนเฉลยแบบฝึกหัดพร้อมอธิบายเพิ่่มเติมในหัวข้อที่นักศึกษายังไม่ค่อยเข้าใจ เปิดโอกาสให้ซักถาม - ผู้สอนให้การบ้านส่งรายบุคคล - ท้ายชั่วโมงสอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม
ผู้สอน :
-
สัปดาห์ที่ 8
หัวข้อ/รายละเอียด
สอบกลางภาค
จำนวนชั่วโมง:
3 ชั่วโมง
กิจกรรม
สอบวัดความรู้ ความเข้าใจ
ผู้สอน :
-
สัปดาห์ที่ 9
หัวข้อ/รายละเอียด
บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบออสซิลเลต การเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์โมนิก ตำแหน่งของการเคลื่อนที่ซิมเปิลฮาร์โมนิก
จำนวนชั่วโมง:
3 ชั่วโมง
กิจกรรม
- กิจกรรมก่อนเข้าสู่บทเรียนเรื่องการแกว่งของมวลที่ติดปลายสปริง ลูกตุ้มนาฬิกา - บรรยายภาคทฤษฎีจากเอกสารประกอบการสอน พร้อมนำเสนอด้วย PowerPoint หรือ วิดีโอ - ผู้สอนให้นักศึกษาทำแบบฝึกหัด สุ่มตัวแทนเพื่อแสดงวิธีทำ อาจารย์ผู้สอนเฉลยแบบฝึกหัดพร้อมอธิบายเพิ่่มเติมในหัวข้อที่นักศึกษายังไม่ค่อยเข้าใจ เปิดโอกาสให้ซักถาม - ผู้สอนให้การบ้านส่งรายบุคคล - ท้ายชั่วโมงสอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม
ผู้สอน :
-
สัปดาห์ที่ 10
หัวข้อ/รายละเอียด
บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบออส ซิลเลต ความเร็วของการเคลื่อนที่ซิมเปิลฮาร์โมนิก ความเร่งของการแกว่งซิมเปิลฮาร์โมนิก แรงของการแกว่งซิมเปิลฮาร์โมนิก พลังงานของการแกว่งซิมเปิลฮาร์โมนิก สอบย่อย
จำนวนชั่วโมง:
3 ชั่วโมง
กิจกรรม
- บรรยายภาคทฤษฎีจากเอกสารประกอบการสอน พร้อมนำเสนอด้วย PowerPoint หรือ วิดีโอ - ผู้สอนให้นักศึกษาทำแบบฝึกหัด สุ่มตัวแทนเพื่อแสดงวิธีทำ อาจารย์ผู้สอนเฉลยแบบฝึกหัดพร้อมอธิบายเพิ่่มเติมในหัวข้อที่นักศึกษายังไม่ค่อยเข้าใจ เปิดโอกาสให้ซักถาม - ผู้สอนให้การบ้านส่งรายบุคคล - ท้ายชั่วโมงสอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม
ผู้สอน :
-
สัปดาห์ที่ 11
หัวข้อ/รายละเอียด
บทที่ 5 ระบบอนุภาค ระบบอนุภาค (Particle), ศูนย์กลางมวล (Center of mass) การเคลื่อนที่ของศูนย์กลางมวล, มวลลดทอนของระบบอนุภาค, โมเมนตัมเชิงมุมของระบบอนุภาค (J),พลังงานจลน์ของระบบอนุภาค (J)
จำนวนชั่วโมง:
3 ชั่วโมง
กิจกรรม
- กิจกรรมก่อนเข้าสู่บทเรียนเรื่องการหาจุดศูนย์ถ่วง - บรรยายภาคทฤษฎีจากเอกสารประกอบการสอน พร้อมนำเสนอด้วย PowerPoint หรือ วิดีโอ - ผู้สอนให้นักศึกษาทำแบบฝึกหัด สุ่มตัวแทนเพื่อแสดงวิธีทำ อาจารย์ผู้สอนเฉลยแบบฝึกหัดพร้อมอธิบายเพิ่่มเติมในหัวข้อที่นักศึกษายังไม่ค่อยเข้าใจ เปิดโอกาสให้ซักถาม - ผู้สอนให้การบ้านส่งรายบุคคล - ท้ายชั่วโมงสอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม
ผู้สอน :
-
สัปดาห์ที่ 12
หัวข้อ/รายละเอียด
บทที่ 6 การเคลื่อนที่ของวัตถุแข็งแกร็ง วัตถุเกร็ง (Rigid body) โมเมนต์ความเฉื่อย (I): พลังงานจลน์ของการหมุน (EK r)
จำนวนชั่วโมง:
3 ชั่วโมง
กิจกรรม
- กิจกรรมก่อนเข้าสู่บทเรียนเรื่องการหมุนและทอร์ค - บรรยายภาคทฤษฎีจากเอกสารประกอบการสอน พร้อมนำเสนอด้วย PowerPoint หรือ วิดีโอ - ผู้สอนให้นักศึกษาทำแบบฝึกหัด สุ่มตัวแทนเพื่อแสดงวิธีทำ อาจารย์ผู้สอนเฉลยแบบฝึกหัดพร้อมอธิบายเพิ่่มเติมในหัวข้อที่นักศึกษายังไม่ค่อยเข้าใจ เปิดโอกาสให้ซักถาม - ผู้สอนให้การบ้านส่งรายบุคคล - ท้ายชั่วโมงสอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม
ผู้สอน :
-
สัปดาห์ที่ 13
หัวข้อ/รายละเอียด
บทที่ 6 การเคลื่อนที่ของวัตถุแข็งแกร็ง การเคลื่อนที่แบบหมุนและเลื่อนตำแหน่ง, งาน (W), กำลัง (P) โมเมนตัมเชิงมุม (L)
จำนวนชั่วโมง:
3 ชั่วโมง
กิจกรรม
- บรรยายภาคทฤษฎีจากเอกสารประกอบการสอน พร้อมนำเสนอด้วย PowerPoint หรือ วิดีโอ - ผู้สอนให้นักศึกษาทำแบบฝึกหัด สุ่มตัวแทนเพื่อแสดงวิธีทำ อาจารย์ผู้สอนเฉลยแบบฝึกหัดพร้อมอธิบายเพิ่่มเติมในหัวข้อที่นักศึกษายังไม่ค่อยเข้าใจ เปิดโอกาสให้ซักถาม - ผู้สอนให้การบ้านส่งรายบุคคล - ท้ายชั่วโมงสอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม
ผู้สอน :
-
สัปดาห์ที่ 14
หัวข้อ/รายละเอียด
บทที่ 7 คลื่นกลและเสียง เสียง (Sound) สมบัติของคลื่นเสียง ระดับความเข้มเสียง การนำความรู้เรื่องเสียงไปใช้ประโยชน์
จำนวนชั่วโมง:
3 ชั่วโมง
กิจกรรม
- กิจกรรมก่อนเข้าสู่บทเรียนเรื่องการวัดระดับเสียง - บรรยายภาคทฤษฎีจากเอกสารประกอบการสอน พร้อมนำเสนอด้วย PowerPoint หรือ วิดีโอ - ผู้สอนให้นักศึกษาทำแบบฝึกหัด สุ่มตัวแทนเพื่อแสดงวิธีทำ อาจารย์ผู้สอนเฉลยแบบฝึกหัดพร้อมอธิบายเพิ่่มเติมในหัวข้อที่นักศึกษายังไม่ค่อยเข้าใจ เปิดโอกาสให้ซักถาม - ผู้สอนให้การบ้านส่งรายบุคคล - ท้ายชั่วโมงสอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม
ผู้สอน :
-
สัปดาห์ที่ 15
หัวข้อ/รายละเอียด
บทที่ 8 กลศาสตร์ของไหล ความดันและแรงดัน ความดันของของเหลว ลักษณะสำคัญของความดันของของเหลว การวัดความดันบรรยากาศ การบอกความดันของบรรยากาศ ความตึงผิว แรงตึงผิว
จำนวนชั่วโมง:
3 ชั่วโมง
กิจกรรม
- กิจกรรมก่อนเข้าสู่บทเรียนเรื่องความดันของเหลว - บรรยายภาคทฤษฎีจากเอกสารประกอบการสอน พร้อมนำเสนอด้วย PowerPoint หรือ วิดีโอ - ผู้สอนให้นักศึกษาทำแบบฝึกหัด สุ่มตัวแทนเพื่อแสดงวิธีทำ อาจารย์ผู้สอนเฉลยแบบฝึกหัดพร้อมอธิบายเพิ่่มเติมในหัวข้อที่นักศึกษายังไม่ค่อยเข้าใจ เปิดโอกาสให้ซักถาม - ผู้สอนให้การบ้านส่งรายบุคคล - ท้ายชั่วโมงสอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม
ผู้สอน :
-
สัปดาห์ที่ 16
หัวข้อ/รายละเอียด
นำเสนอรายงานเทคโนโลยีใหม่ๆที่ประยุกต์วิชาฟิสิกส์พื้นฐาน 1 กับวิชาชีพ (1 เรื่องต่อกลุ่ม) สรุปประมวลรายงานของนักศึกษา
จำนวนชั่วโมง:
3 ชั่วโมง
กิจกรรม
- นำเสนอผลงาน (PowerPoint) คลิปวิดีโอ หรืออื่น ๆ - อภิปรายร่วมกันระหว่างผู้สอนกับนักศึกษาและเปิดโอกาสให้นักศึกษาซักถาม
ผู้สอน :
-
สัปดาห์ที่ 17
หัวข้อ/รายละเอียด
สอบปลายภาค
จำนวนชั่วโมง:
3 ชั่วโมง
กิจกรรม
สอบวัดความรู้ ความเข้าใจ
ผู้สอน :
-
หมวดที่ 5
แผนการสอนและการประเมินผล
2. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
กิจกรรมที่
ผลการเรียนรู้ *
วิธีการประเมินผลนักศึกษา
สัปดาห์ที่ประเมิน
สัดส่วนของการประเมินผล
ไม่มีข้อมูล
หมวดที่ 6
ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน
1. หนังสือ ตำรา และเอกสารประกอบการสอนหลัก
2. เอกสาร และข้อมูลสำคัญ
3. เอกสาร และข้อมูลแนะนำ
หมวดที่ 7
การประเมินและปรับปรุงการดำเนินการของรายวิชา
1. กลยุทธ์การประเมินประสิทธิผลของรายวิชาโดยนักศึกษา
2. กลยุทธ์การประเมินการสอน
3. การปรับปรุงการสอน
4. การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชา
5. การดำเนินการทบทวนและวางแผนปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชา