การผลิตพืชและสัตว์สำหรับวิศวกร

Crop and Animal Production for Engineers

1.1 เพื่อศึกษาเกี่ยวกับ การจำแนกชนิดและพันธ์พืช วิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวและการตลาดการเลี้ยงสัตว์ อาหารสัตว์ โรคและการสุขาภิบาลและ มาตรฐานเกี่ยวข้องกับการเกษตร 1.2 เพื่อฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับ ระบบการปลูกพืช ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการผลิตพืช การขยายพันธ์พืช รูปแบบการปลูกพืช การเก็บเกี่ยว 1.3 ศึกษาดูงานนอกสถานที่ การประกอบธุรกิจการผลิตพืช และสัตว์
2.1 เพื่อให้นักศึกษามีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม 2.2 เพื่อให้นักศึกษา มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษามีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการ และวิชาชีพและ สามารถใช้ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับการจำแนกชนิดและพันธ์พืช ระบบการปลูกพืช ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการผลิตพืช การขยายพันธ์พืช รูปแบบการปลูกพืช การเก็บเกี่ยว วิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวและการตลาด ความรู้เกี่ยวกับการเลี้ยงสัตว์ อาหารสัตว์ โรคและการสุขาภิบาล มาตรฐานเกี่ยวข้องกับการเกษตร และการศึกษาดูงานนอกสถานที่
5 ชั่วโมง/สัปดาห์
1.1 คุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา
1.มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม 2.มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ 3.มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
1.ให้ความสำคัญในวินัย การตรงต่อเวลา การส่งงานภายในเวลาที่กำหนด 2. การมีจรรยาบรรณทางวิชาีพ การปฏิบัติตนที่เหมาะสมถูกต้องตามระเบียบข้อบังคับของมหาวิทยาลัย และประเทศชาติ 3. สอดแทรกความซื่อสัตย์ต่อตนเอง และสังคม การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
1. การให้คะแนนการเข้าชั้นเรียนและการส่งงานตรงเวลา 2. สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาในการปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ อย่างต่อเนื่อง  3. การค้นคว้าผลงาน และการคัดลอกผลงาน  
2.1 ความรู้ที่ต้องได้รับ
1. มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา 2. สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
1. ใช้การสอนทฤษฎีและการปฏิบัติ และการค้นคว้าเพิ่มเติมเพื่อให้เกิดองค์ความรู้
2. ฝึกให้นักศึกษาคิด วิเคราะห์ แยกแยะ 3. นำนักศึกษาออกไปศึกษาดูงานเพื่อเพิ่มพูนความรู้
1.ข้อสอบเก็บคะแนน
2.รายงานการค้นคว้า
3.การนำเสนอหน้าชั้นเรียน
1. มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการ และวิชาชีพ 2. มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
1. ส่งเสริมการเรียนรู้จากการแก้ปัญหา ( Problem Based Instruction) โดยการให้โจทย์คำถามแก่นักศึกษาเพื่อให้นักศึกษาฝึกกระบวนการคิด 2. มอบหมายงานที่ส่งเสริมการคิด วิเคราะห์และสังเคราะห์
1. ประเมินการตอบคำถามในชั้นเรียน 2. ประเมินจากผลงานที่มอบหมาย/การทดสอบย่อย
1. มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี 2. มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3. สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
1. มอบหมายงานกลุ่ม เพื่อดูการแบ่งงาน และการทำงานร่วมกันของนักศึกษา 2.การช่วยเหลือกันในการนำเสนองานที่มอบหมาย และการตอบคำถาม
1.ประเมินจากการรายงานหน้าชั้นเรียนโดยอาจารย์และนักศึกษา 2. ประเมินพฤติกรรมภาวะการเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี
1. สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม 2. สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม 3. สามารถใช้ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1.ส่งเสริมให้มีการค้นหาข้อมูลผ่านฐานข้อมูลต่างๆ 2. ใช้ศักยภาพทางคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนอผลงานที่ได้รับมอบหมาย 3. มอบหมายงานค้นคว้าองค์ความรู้จากแหล่งข้อมูลต่างๆ และให้นักศึกษานำเสนอหน้าชั้น
1. ประเมินจากรายงานการค้นคว้าที่มอบหมาย
2.ประเมินจากการสามารถใช้สื่อ โปรแกรมในการนำเสนองานที่ได้รับมอบหมาย
1. มีทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์ และวิธีการได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2. มีทักษะในการปฏิบัติงานกลุ่ม มีการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ และมีความร่วมมือกันเป็นอย่างดี  
1.ใช้ศักยภาพทางคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนอผลงานที่ได้รับมอบหมาย 2. ปฏิบัติงานกลุ่มตามที่ไ้รับมอบหมายจากการปฏิบัติงานจากของจริง
1. ประเมินจากผลงานและที่ได้รับมอบหมาย
2.สังเกตพฤติกรรมในชั้นเรียน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรมจริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6.ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2
1 ENGAG205 การผลิตพืชและสัตว์สำหรับวิศวกร
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 4.1.3, 4.2.1, 4.3.1 4.5.3 สอบกลางภาค และ สอบปลายภาค 8 และ 17 40 %
2 4.2.1, 4.3.2, 4.5.1, 4.5.2, 4.5.3, รายงาน แบบฝึกหัด งานที่ได้รับมอบหมาย ตลอดภาคเรียน 50 %
3 4.1.1, 4.1.2, 4.2.2, 4.3.1, 4.3.2, 4.4.1, 4.4.2, 4.4.3, 4.5.3 การเข้าชั้นเรียน ทักษะพิสัย การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียนการส่งานตรงเวลา การไม่คัดลอกผลงาน ตลอดภาคเรียน 10 %
มาตรฐานสินค้าเกษตร ที่มา : http://www.acfs.go.th/agri_standards.php
การเลี้ยงสัตว์ทั่วไปและการผลิตสัตว์. 2542. ภาควิชาสัตวศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
 
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน การสังเกตการณ์จากพฤติกรรมของผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้ 2.1 การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน 2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา 2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้ 3.1 สัมมนาเชิงวิชาการจัดการเรียนการสอน 3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชา คือ การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น โดยการ ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4