ปัญหาพิเศษทางเทคโนโลยีสารสนเทศ

Special problems in Information Technology

เพื่อฝึกปฏิบัติกำหนดปัญหาและสมมุติฐานของปีญหาพิเศษด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ การสืบค้นข้อมูลงานวิจัยเกี่ยวกับปัญหาพิเศษทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ การศึกษาความเป็นไปได้และรายงาน ดำเนินการทดลองแก้ไขปัญหาพิเศษในห้องปฏิบัติการเทคโนโลยีสารสนเทศภายใต้คำแนะนำของอาจารย์ที่ปรึกษาปัญหาพิเศษ การสรุปและนำเสนอผลการศึกษาปัญหาพิเศษทางเทคโนโลยีสารสนเทศ และส่งรูปเล่มรายงานฉบับสมบูรณ์
-
ฝึกปฏิบัติกำหนดปัญหาและสมมุติฐานของปีญหาพิเศษด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ การสืบค้นข้อมูลงานวิจัยเกี่ยวกับปัญหาพิเศษทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ การศึกษาความเป็นไปได้และรายงาน ดำเนินการทดลองแก้ไขปัญหาพิเศษในห้องปฏิบัติการเทคโนโลยีสารสนเทศภายใต้คำแนะนำของอาจารย์ที่ปรึกษาปัญหาพิเศษ การสรุปและนำเสนอผลการศึกษาปัญหาพิเศษทางเทคโนโลยีสารสนเทศ และส่งรูปเล่มรายงานฉบับสมบูรณ์ Practice formulating problems and hypotheses for special problems in information technology. Searching for research information on special problems in information technology. Feasibility studies and reports Conducting special problem-solving experiments in the Information Technology Laboratory under the guidance of a special problem advisor Summarizing and presenting the results of the study of special problems in information technology and submit a complete report.
6
1.2 ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต
1.6 สามารถวิเคราะห์ผลกระทบจากการใช้คอมพิวเตอร์ต่อบุคคลองค์กรและสังคม
 
การบรรยายและซักถาม
ประเมินจากการตรงเวลาของนักศึกษาในภาพเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที่มอบหมายและการร่วมกิจกรรม
2.6 มีความรู้ในแนวกว้างของสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศเล็งเห็นการเปลี่ยนแปลง และเข้าใจผลกระทบของเทคโนโลยีใหม่ๆ
ใช้การเรียนการสอนในหลากหลายรูปแบบ โดยเน้นหลักการทางทฤษฎี และประยุกต์ทางปฎิบัติในสภาพแวดล้อมจริง โดยทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี ทั้งนี้ให้เป็นไปตามลักษณะของรายวิชา
 ประเมินจากงานที่นักศึกษาจัดทำ
3.4 สามารถประยุกต์ความรู้และทักษะกับการแก้ไขปัญหาทางคอมพิวเตอร์ได้อย่างเหมาะสม
ให้นักศึกษามีโอกาสปฏิบัติจริง
ประเมินตามสภาพจริงจากผลงาน และการปฏิบัติของนักศึกษา 
4.5 สามารถเป็นผู้ริเริ่มแสดงประเด็นในการแก้ไขสถานการณ์ทั้งส่วนตัวและส่วนรวม พร้อมทั้งแสดงจุดยืนอย่างพอเหมาะทั้งของตนเองและของกลุ่ม
ใช้การสอนที่มีการกำหนดกิจกรรมให้มีการทำงานเป็นกลุ่ม แต่เนื่องจากมีนักศึกษาลงเรียนเพียงคนเดียวจึงกำหนดให้มีการสื่อสารกับผู้ใช้งานจริงจากการทำงานที่ได้รับมอบหมาย
ประเมินจากพฤติกรรมและการแสดงออกของนักศึกษา
5.2 สามารถแนะนำประเด็นการแก้ไขปัญหาโดยใช้สารสนเทศทางคณิตศาสตร์หรือการแสดงสถิติประยุกต์ต่อปัญหาที่เกี่ยวข้องอย่างสร้างสรรค์
จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรายวิชาต่าง ๆ ให้นักศึกษาได้วิเคราะห์สถานการณ์จำลอง และสถานการณ์เสมือนจริง แล้วนำเสนอการแก้ปัญหาที่เหมาะสม เรียนรู้เทคนิคการประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศในหลากหลาย สถานการณ์
5.3.1 ประเมินจากเทคนิคการนำเสนอโดยใช้ทฤษฏี การเลือกใช้เครื่องมือทางเทคโนโลยีสารสนเทศ หรือคณิตศาสตร์และสถิติ ที่เกี่ยวข้อง
5.3.2 ประเมินจากความสามารถในการอธิบาย ถึงข้อจำกัด เหตุผลในการเลือกใช้เครื่องมือต่าง ๆ การอภิปราย กรณีศึกษาต่าง ๆ มีการนำเสนอต่อชั้นเรียน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. ด้านคุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา (Ethics and Moral) 2. ด้านความรู้ที่ต้องได้รับ(Knowledge) 3. ด้านทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา (Cognitive Skills) 4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา (Interpersonal Skills and Responsibility) 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา (Numerical Analysis, Communication and Information Technology Skills)
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.2 มีวินัยตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง วิชาชีพและสังคม 1.6 สามารถวิเคราะห์ผลกระทบจากการใช้คอมพิวเตอร์ต่อบุคคลองค์กรและสังคม 2.6 มีความรู้ในแนวกว้างของสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศเล็งเห็นการเปลี่ยนแปลง และเข้าใจผลกระทบของเทคโนโลยีใหม่ๆ 3.4 สามารถประยุกต์ความรู้และทักษะกับการแก้ไขปัญหาทางคอมพิวเตอร์ได้อย่างเหมาะสม 4.5 สามารถเป็นผู้ริเริ่มแสดงประเด็นในการแก้ไขสถานการณ์ทั้งส่วนตัวและส่วนรวม พร้อมทั้งแสดงจุดยืนอย่างพอเหมาะทั้งของตนเองและของกลุ่ม 5.2 สามารถแนะนำประเด็นการแก้ไขปัญหาโดยใช้สารสนเทศทางคณิตศาสตร์หรือการแสดงสถิติประยุกต์ต่อปัญหาที่เกี่ยวข้องอย่างสร้างสรรค์
1 BSCCT908 ปัญหาพิเศษทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.2, 1.6 การเข้าชั้นเรียน/การมีส่วนร่วมอภิปรายเสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
2 2.6, 3.4, 4.5, 5.2 พิจารณาจากรายงาน ผลงานของนักศึกษา การทำงานเป็นกลุ่ม การนำเสนอรายงาน วิเคราะห์ ค้นคว้า การนำเสนอรายงานเอกสาร 6-16 30%
3 4.5, 5.2 การนำเสนอผลงาน 16 30%
-
-
-www.google.com -www.garthner.com
การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน การสะท้อนคิด จากพฤติกรรมของผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
การสังเกตความสนใจของนักเรียน การซักถามในห้องเรียน ผลการตรวจแบบฝึกหัด การบ้านและรายงาน
     1.  แก้ไขข้อบกพร่อง จากแบบประเมินที่นักศึกษาประเมินผู้สอน      2.  การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการเรียนการสอนรายวิชา  มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ  ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา  ได้จาก  การสอบถามนักศึกษา  หรือการสุ่มตรวจผลงานนักศึกษา  รวมถึงพิจารณาจากผลการทดสอบย่อย  และหลังการออกผลการเรียน
 -ปรับปรุงรายวิชา ตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4             - เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอนเพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้กับปัญหาจากงานวิจัยของอาจารย์ - นำผลการเรียนของนักศึกษามาปรับปรุงประสิทธิภาพของรายวิชา