การเป็นผู้ประกอบการทางวิชาชีพบัญชี

Accounting Profession Entrepreneuship

เพื่อให้ทราบ แนวคิด ทัศนคติ และแรงจูงใจของผู้ประกอบการทางวิชาชีพบัญชี คุณลักษณะและปัจจัยที่ส่งผลต่อความสำเร็จของผู้ประกอบการทางวิชาชีพบัญชี การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ การแสวงหาและประเมินโอกาสทางธุรกิจ ขั้นตอนการเริ่มต้นทำธุรกิจใหม่ การจัดทำแผนธุรกิจ รวมทั้งกฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้องกับการจัดตั้งและการดำเนินงาน (Accounting Office Entrepreneur) มาตรฐานการควบคุมคุณภาพทางวิชาชีพ ประเภทของการให้บริการทางวิชาชีพบัญชี เทคนิคและวิธีการในการให้บริการงานวิชาชีพบัญชี การสร้างความสัมพันธ์ระหว่างผู้ประกอบการกับผู้รับบริการ
เพื่อให้ผู้เรียนทราบแนวคิด ทัศนคติ และแรงจูงใจของผู้ประกอบการทางวิชาชีพบัญชี คุณลักษณะและปัจจัยที่ส่งผลต่อความสำเร็จของผู้ประกอบการทางวิชาชีพบัญชี การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ การแสวงหาและประเมินโอกาสทางธุรกิจ ขั้นตอนการเริ่มต้นทำธุรกิจใหม่ การจัดทำแผนธุรกิจ รวมทั้งกฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้องกับการจัดตั้งและการดำเนินงาน (Accounting Office Entrepreneur) มาตรฐานการควบคุมคุณภาพทางวิชาชีพ ประเภทของการให้บริการทางวิชาชีพบัญชี เทคนิคและวิธีการในการให้บริการงานวิชาชีพบัญชี การสร้างความสัมพันธ์ระหว่างผู้ประกอบการกับผู้รับบริการ
แนวคิด ทัศนคติ และแรงจูงใจของผู้ประกอบการทางวิชาชีพบัญชี คุณลักษณะและปัจจัยที่ส่งผลต่อความสำเร็จของผู้ประกอบการทางวิชาชีพบัญชี การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ การแสวงหาและประเมินโอกาสทางธุรกิจ ขั้นตอนการเริ่มต้นทำธุรกิจใหม่ การจัดทำแผนธุรกิจ รวมทั้งกฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้องกับการจัดตั้งและการดำเนินงาน (Accounting Office Entrepreneur) มาตรฐานการควบคุมคุณภาพทางวิชาชีพ ประเภทของการให้บริการทางวิชาชีพบัญชี เทคนิคและวิธีการในการให้บริการงานวิชาชีพบัญชี การสร้างความสัมพันธ์ระหว่างผู้ประกอบการกับผู้รับบริการ
 2 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ สอนเสริมเป็นรายบุคคล (เฉพาะรายที่ต้องการเพิ่มเติม)
1.มีความรู้ และความเข้าใจในหลักจริยธรรมพื้นฐานทางวิชาชีพบัญชี
2.สามารถประยุกต์หลักจริยธรรมพื้นฐานทางวิชาชีพในการแก้ไขปัญหาในทางปฏิบัติได้อย่างเหมาะสม
1.สอดแทรกคุณธรรม จริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพบัญชี ในเนื้อหาวิชาเรียน
2.ให้ความสำคัยในการมีวินัย การตรงต่อเวลา และการปฏิบัติตามระเบียบข้อบังคับของมหาวิทยาลัย
3.การเรียนรู้และสอนจากกรณีศึกษา
1.ประเมินโดยการสังเกตพฤติกรรมนักศึกษาเกี่ยวกับการเข้าเรียนตรงเวลา การทำงานทันตามกำหนด และความพร้อมเพรียงของการเข้าร่วมกิจกรรม
2.ประเมินการทำทุจริตในข้อสอบ
3.ประเมินจากความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
4.สังเกตพฤติกรรมในชั้นเรียน
2.มีความรู้ความเข้าใจในศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้องเพียงพอที่จะประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงาน
1.ใช้วิธีสอนหลายรูปแบบ ตามลักษณะของเนื้อหารายวิชาโดยเน้นแนวคิด หลักการ ทฤษฎี และการปฏิบัติ เพื่อให้เกิดองค์ความรู้ เช่นการสอนแบบบรรยายและอภิปราย การยกตัวอย่าง การถาม-ตอบปัญหาทางวิชาการในห้องเรียน การสอนแบบสาธิต การสอนแบบใช้สถานการณ์จำลอง การสอนแบบเน้นกรณีปัญหา
2.มอบหมายให้นักศึกษาค้นคว้าข้อมูลเพื่อจัดทำรายงานหรือโครงการ
1.ประเมินผลการเรียนรู้ระหว่างภาค เช่น งานที่มอบหมาย การทดสอบย่อย รายงาน การค้นคว้า และการนำเสนอ
2.การประเมินจากการสอบข้อเขียนหรือการสอบปฏิบัติ
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะปัญญา 4.ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1. 2. 3. 1. 2. 3. 4. 1. 2. 3. 4. 1. 2. 3. 1. 2. 3.
1 BACAC152 การเป็นผู้ประกอบการทางวิชาชีพบัญชี
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.ด้านความรู้ 2.ด้านความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ - ทำแบบทดสอบกลางภาค - ทำแบบทดสอบ ย่อย - ทำแบบทดสอบปลายภาค - ประเมินจากการเช็คชื่อเข้าชั้นเรียน - ประเมินจากการส่งแบบฝึกหัด - ประเมินจากงานกลุ่ม ตลอดภาคการศึกษา 100
1) สภาวิชาชีพบัญชี www.tfac.or.th 2) กรมสรรพากร www.rd.go.th 3) สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ www.sec.or.th 4) ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย www.set.or.th 5) ธนาคารแห่งประเทศไทย www.bot.or.th 6) กรมศุลกากร www.customs.go.th 7) กรมสรรพาสามิต www.excise.go.th 8) กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์ www.dbd.go.th 9) กระทรวงแรงงาน www.mol.go.th
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้

  การประเมินตามผลลัพธ์การเรียนรู้โดยนักศึกษา หรือ   การประเมินการสอนโดยนักศึกษา (ประเมินผ่านระบบมหาวิทยาลัย) หรือ   การเขียนสะท้อนความคิดเห็น ข้อเสนอแนะจากนักศึกษา หลังจบบทเรียนในรายวิชา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1  การประเมินตนเองหลังการสอน และการทำกิจกรรมในชั้นเรียนแต่ละครั้งโดยผู้สอน หรือ
2.2  การประเมินตนเองหลังการสอน จากผลการเรียนของนักศึกษา พิจารณาจากคะแนนสอบ รายงานหรือโครงการที่ได้รับมอบหมาย
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
3.1  การประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (Knowledge Management) ร่วมกันระหว่างผู้สอน เพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
3.2  พัฒนาความรู้ความสามารถด้านการสอน โดยการอบรมสัมมนา
การทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในรายวิชา โดยการแต่งตั้งกรรมการผู้รับผิดชอบ กรรมการบริหารหลักสูตร และกรรมการสาขาวิชาในสาขาวิชา เป็นผู้ดำเนินการ ดังนี้
4.1  การประเมินตามผลลัพธ์การเรียนรู้ โดยนักศึกษา
4.2  การประเมินการสอน โดยนักศึกษา (ประเมินผ่านระบบของมหาวิทยาลัย)
4.3 การวิเคราะห์ความสอดคล้อง/เกณฑ์การประเมิน ตาม มคอ. 3/ มคอ. 5 โดยคณะกรรมการทวนสอบ
4.4  การประเมินข้อสอบ  การปฏิบัติงาน และรายงานโครงการ การให้คะแนน ที่มาของเกรด โดยอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร หรือสาขาวิชา
จากผลการประเมิน และการทวนสอบผลสัมฤทธิ์รายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1  รายงานผลการทวนสอบฯ ต่อคณะกรรมการผู้รับผิดชอบหลักสูตร/สาขาวิชา
5.2  นำผลการทวนสอบฯ ไปรายงานใน มคอ.5 และจัดทำแผนปรับปรุง มคอ.3 ในครั้งต่อไป โดยอาจารย์ผู้สอน
5.3  นำผลการทวนสอบไปปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตร โดยหัวหน้าหลักสูตร