สัมมนาการบัญชีเชิงบูรณาการ

Integrated in Accounting Seminar

ศึกษา ค้นคว้า อภิปราย และวิเคราะห์ ประเด็นปัจจุบันเกี่ยวกับการบัญชีที่น่าสนใจ รวมถึงปัญหาและแนวทางแก้ไขปัญหา โดยศึกษาจากบทความทางวิชาการ งานวิจัย เอกสารต่างๆ ที่เกี่ยวข้องทั้งในประเทศและต่างประเทศ การบูรณาการทางการบัญชีกับเทคโนโลยี นวัตกรรม จรรยาบรรณวิชาชีพ โดยการทำโครงงาน (Project Base) ฝึกทักษะการนำเสนอข้อมูลทั้งการเขียนและการนำเสนอด้วยวาจา
เพื่อศึกษา ค้นคว้า อภิปราย และวิเคราะห์ ประเด็นปัจจุบันเกี่ยวกับการบัญชีที่น่าสนใจ รวมถึงปัญหาและแนวทางแก้ไขปัญหา โดยศึกษาจากบทความทางวิชาการ งานวิจัย เอกสารต่างๆ ที่เกี่ยวข้องทั้งในประเทศและต่างประเทศ การบูรณาการทางการบัญชีกับเทคโนโลยี นวัตกรรม จรรยาบรรณวิชาชีพ โดยการทำโครงงาน (Project Base) ฝึกทักษะการนำเสนอข้อมูลทั้งการเขียนและการนำเสนอด้วยวาจา
ศึกษา ค้นคว้า อภิปราย และวิเคราะห์ ประเด็นปัจจุบันเกี่ยวกับการบัญชีที่น่าสนใจ รวมถึงปัญหาและแนวทางแก้ไขปัญหา โดยศึกษาจากบทความทางวิชาการ งานวิจัย เอกสารต่างๆ ที่เกี่ยวข้องทั้งในประเทศและต่างประเทศ การบูรณาการทางการบัญชีกับเทคโนโลยี นวัตกรรม จรรยาบรรณวิชาชีพ โดยการทำโครงงาน (Project Base) ฝึกทักษะการนำเสนอข้อมูลทั้งการเขียนและการนำเสนอด้วยวาจา
จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคลหรือรายกลุ่มตามความต้องการโดยกำหนดเวลาไว้วันละ 1 ชั่วโมง ตั้งแต่เวลา 15.30-16.30 น.
-
1. มีความรู้ ความเข้าใจ และมีทักษะการปฏิบัติด้านการบัญชี เพียงพอที่จะประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงาน 
2. มีความสามารถในการประยุกต์หลักคณิตศาสตร์และสถิติในการประกอบวิชาชีพบัญชี
เน้นหลักการทางทฤษฎีและภาคปฏิบัติให้เป็นไปตามเนื้อหาสาระของคำอธิบายรายวิชา ให้นักศึกษาค้นคว้าหาข้อมูลโดยการทำงานเป็นกลุ่ม
ประเมินจากการเล่มรายงานและสอบปลายภาค
1.มีทักษะการปฏิบัติทางวิชาชีพ การประยุกต์ใช้เหตุผลในการแก้ไขปัญหาด้วยวิธีการที่ถูกต้องและเหมาะสม
2.มีความสามารถในการเรียนรู้ และติดตามการเปลี่ยนแปลงทางวิชาชีพบัญชีและศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้องและรู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงของสังคมและโลก
ให้นักศึกษาเรียนรู้จากการจัดสัมมนาของแต่ละกลุ่ม ให้นักศึกษาคิดวิเคราะห์ข้อมูลของแต่ละกลุ่มที่นำเสนอและเสนอแนะข้อคิดเห็นในสถานการณ์ต่างๆ อย่างสร้างสรรค์
ประเมินจากการซักถาม และแลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างกลุ่ม
1.มีความคิดสร้างสรรค์ เพื่อการพัฒนาวิชาชีพการบัญชี
กำหนดให้นักศึกษาทำงานเป็นกลุ่มโดยให้จัดในรูปแบบของการสัมมนา
ประเมินจากงานที่ได้รับมอบหมายและระยะเวลาในการส่งงาน ประเมินจากการจัดสัมมนา
1.มีความสามารถในการปฏิบัติและประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศทางการบัญชี โดยเฉพาะเทคโนโลยีดิจิทัลที่มีในปัจจุบัน เพืิ่อพัฒนากระบวนการทำงานด้านวิชาชีพบัญชีให้มีประสิทธิภาพ
2.มีความสามารถในการสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพทั้งการพูดและการเขียน โดยเลือกใช้รูปแบบการนำเสนอที่เหมาะสมกับสถานการณ์
 
มอบหมายงานที่ต้องมีการสืบค้นข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต ให้นำเสนองานที่ได้รับมอบหมายของแต่ละกลุ่มโดยกำหนดให้เป็นพิธีกร วิทยากร และอื่นๆ ตามรูปแบบของการสัมมนา
ประเมินจากผลงานที่ได้สืบค้นทางอินเตอร์เน็ต ประเมินจากกิจกรรมของการจัดสัมมนา
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะปัญญา 4.ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 2. 1. 2. 3. 4. 1. 2. 3. 4. 1. 2. 3. 2. 3.
1 BACAC157 สัมมนาการบัญชีเชิงบูรณาการ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2,3,4,5 - ประเมินจากการส่งเล่มรายงาน - ประเมินจากการจัดสัมมนา - ทำแบบทดสอบปลายภาค ตลอดภาคการศึกษา 100
   1) สภาวิชาชีพบัญชี  www.tfac.or.th  2) กรมสรรพากร  www.rd.go.th  3) สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์  www.sec.or.th  4) ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย  www.set.or.th  5) ธนาคารแห่งประเทศไทย  www.bot.or.th  6) กรมศุลกากร  www.customs.go.th  7) กรมสรรพาสามิต  www.excise.go.th  8) กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์  www.dbd.go.th  9) กระทรวงแรงงาน  www.mol.go.th
การประเมินประสิทธิผลในรายวิชานี้ได้ดำเนินการดังนี้

การสอบถามความคิดเห็นจากนักศึกษาเป็นรายคนและรายกลุ่ม แบบประเมินผู้สอนของมหาวิทยาลัย
การประเมินการสอนในรายวิชานี้ได้ดำเนินการดังนี้

สังเกตการมีส่วนร่วมในการจัดสัมมนา สังเกตจากการเป็นผู้ดำเนินการจัดสัมมนา การตรวจงานที่มอบหมาย การตรวจความมีระเบียบวินัย การตรงต่อเวลา และปฏิบัติตามระเบียบข้อบังคับของมหาวิทยาลัย ทดสอบวัดผลการเรียน
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จะมีการปรับปรุงการสอนโดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมองและหาข้อมูลเพิ่มเติม ดังนี้

ประชุมผู้สอนในสาขาเพื่อพิจารณาผลในภาพรวมและนำไปสู่การปรับปรุงการเรียนการสอนต่อไป การวิจัยในชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชามีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาดังนี้

ทดสอบความรู้ของนักศึกษาอย่างสม่ำเสมอ โดยการทวนถามและให้นักศึกษาแสดงความคิดเห็น ทดสอบความรู้ของนักศึกษา โดยการสุ่มด้วยวิธีการสัมภาษณ์หลังจากส่งผลการเรียนแล้ว
จากการประเมินและทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชาได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้

ปรับปรุงวิธีการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับยุคสมัย ปรับปรุงวิธีการเรียนการสอนตามข้อเสนอและและผลการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ ปรับปรุงเอกสารประกอบการสอนและสื่อการสอนต่างๆ ให้ทันสมัยอยู่เสมอ