ภาษาอังกฤษสำหรับบัณฑิตศึกษา
English for Graduate Study
1.1 เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจในคำศัพท์และโครงสร้างภาษาอังกฤษที่ใช้สำหรับการค้นคว้าในเชิงวิชาการ และสรุปหลักการของทักษะภาษาอังกฤษ ในด้าน การอ่านสรุปความ การวิเคราะห์บทความ การเขียนและการนำเสนอบทความ
1.2 เพื่อพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษสำหรับการค้นคว้าในเชิงวิชาการจนเกิดความชำนาญ
1.3 เพื่อนำความรู้ทักษะภาษาอังกฤษไปใช้สำหรับการศึกษาค้นคว้าในเชิงวิชาการเช่น เทคนิคการอ่านและการวิเคราะห์เพื่อสรุปบทความวิจัย
1.4 เพื่อมีจรรยาบรรณ ความรับผิดชอบต่อตนเอง ต่อสังคม และทำงานร่วมกับผู้อื่น ในการศึกษาและใช้ผลงานทางวิชาการ
1.2 เพื่อพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษสำหรับการค้นคว้าในเชิงวิชาการจนเกิดความชำนาญ
1.3 เพื่อนำความรู้ทักษะภาษาอังกฤษไปใช้สำหรับการศึกษาค้นคว้าในเชิงวิชาการเช่น เทคนิคการอ่านและการวิเคราะห์เพื่อสรุปบทความวิจัย
1.4 เพื่อมีจรรยาบรรณ ความรับผิดชอบต่อตนเอง ต่อสังคม และทำงานร่วมกับผู้อื่น ในการศึกษาและใช้ผลงานทางวิชาการ
เพื่อให้นักศึกษาเพิ่มการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาประกอบการเรียน ซึ่งเป็นผลมาจากแนวโน้มการศึกษาในศตวรรษที่ 21 ที่ต้องมีเทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนรู้ด้วยตนเองมาเกี่ยวข้องมากขึ้น เน้นการใช้ทักษะการสื่อสารให้เข้าใจในทุกๆ ศาสตร์ ที่สอดรับกับภาษาอังกฤษสำหรับบัณฑิต
ศึกษาและพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษสำหรับการค้นคว้าวิจัย เน้นการอ่านเพื่อสรุปความ การวิเคราะห์บทความทางวิชาการ การเขียนและการนำเสนอบทความทางวิชาการ
Integrated English language skills for academic purpose at graduate level; intensive practice in reading, summarizing, analysis of academic articles, writing and presentation of academic work.
Integrated English language skills for academic purpose at graduate level; intensive practice in reading, summarizing, analysis of academic articles, writing and presentation of academic work.
2 ชั่วโมง ทุกวันพุธ โดยฝึกการสนทนาเป็นภาษาอังกฤษ
1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1. ส่งเสริมให้ นศ. ตระหนักใน จรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพคุณธรรม จริยธรรม ความรับผิดชอบในการทำงานร่วมกัน ทั้งของตนเอง และส่วนรวม
2. กำหนดเกณฑ์ให้นักศึกษาได้สร้างวินัยในตนเอง เช่น การเข้าชั้นเรียนตรงเวลาและสม่ำเสมอ การส่งงานตรงตามกำหนดเวลา ความอดทน
2. กำหนดเกณฑ์ให้นักศึกษาได้สร้างวินัยในตนเอง เช่น การเข้าชั้นเรียนตรงเวลาและสม่ำเสมอ การส่งงานตรงตามกำหนดเวลา ความอดทน
1. การเข้าเรียนตามเวลาที่กำหนด
2. การส่งงานตามเวลาที่กำหนด
3. การมีส่วนร่วมในกิจกรรมระหว่างเรียน
4. การสังเกตพฤติกรรมในการเรียน หรือ ทำงานกลุ่ม
2. การส่งงานตามเวลาที่กำหนด
3. การมีส่วนร่วมในกิจกรรมระหว่างเรียน
4. การสังเกตพฤติกรรมในการเรียน หรือ ทำงานกลุ่ม
1. การเข้าเรียนตามเวลาที่กำหนด
2. การส่งงานตามเวลาที่กำหนด
3. การมีส่วนร่วมในกิจกรรมระหว่างเรียน
4. การสังเกตพฤติกรรมในการเรียน หรือ ทำงานกลุ่ม
2. การส่งงานตามเวลาที่กำหนด
3. การมีส่วนร่วมในกิจกรรมระหว่างเรียน
4. การสังเกตพฤติกรรมในการเรียน หรือ ทำงานกลุ่ม
1. การสอนแบบบรรยายเชิงปฏิบัติ และฝึกปฏิบัติตามกิจกรรมที่กำหนด
2. การสอนโดยให้ นศ. ไปศึกษาค้นคว้าความรู้เพิ่มเติมจากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ
3. การสอนโดยใช้เทคนิคคู่คิด (Think-Pair-Share)
4. การสอนแบบกรณีศึกษา (Case Studies)
2. การสอนโดยให้ นศ. ไปศึกษาค้นคว้าความรู้เพิ่มเติมจากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ
3. การสอนโดยใช้เทคนิคคู่คิด (Think-Pair-Share)
4. การสอนแบบกรณีศึกษา (Case Studies)
1. งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
2. การนำเสนองาน
3. ข้อสอบอัตนัย
4. แบบทดสอบวัดด้านการปฏิบัติ
5. การประเมินตนเอง
6. การประเมินโดยเพื่อน
2. การนำเสนองาน
3. ข้อสอบอัตนัย
4. แบบทดสอบวัดด้านการปฏิบัติ
5. การประเมินตนเอง
6. การประเมินโดยเพื่อน
3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
การสอนแบบบรรยายเชิงอภิปรายเพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและเสนอแนะ
การสอนแบบกรณีศึกษา (Case Studies) โดยวิเคราะห์กรณีศึกษาและตัวอย่างจากสถานการณ์จริง
การสอนฝึกปฏิบัติการเขียนและนำเสนอ
1. การอภิปราย ซักถาม แสดงความคิดเห็น และการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในกลุ่ม
2. การฝึกปฏิบัติการทำงานที่ได้รับมอบหมาย และการศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม
2. การฝึกปฏิบัติการทำงานที่ได้รับมอบหมาย และการศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม
4.1 มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
4.4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
4.4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
เทคนิคการเรียนรู้แบบร่วมมือ (Cooperative Learning)
1. ให้นักศึกษาประเมินกันเองในกิจกรรมกลุ่ม
2. ผู้สอนประเมินจากการปฏิบัติงานกลุ่ม
2. ผู้สอนประเมินจากการปฏิบัติงานกลุ่ม
5.4 สามารถใช้ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างถูกต้องตามกาลเทศะและสอดคล้องกับวัฒนธรรมสากล
1. ให้มีการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
2. ให้มีการนำเสนอข้อมูลทาง powerpoint
3. มีการฝึกเขียนงานวิชาการ
2. ให้มีการนำเสนอข้อมูลทาง powerpoint
3. มีการฝึกเขียนงานวิชาการ
1. ข้อมูลวิชาการที่สรุปได้จากการค้นคว้าและศึกษาของนักศึกษา
2. ผลงานการเขียนและใช้สื่อเทคโนโลยีประกอบการนำเสนอ
2. ผลงานการเขียนและใช้สื่อเทคโนโลยีประกอบการนำเสนอ
-
-
-
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา | 1. คุณธรรมจริยธรรม | 2. ด้านความรู้ที่ต้องได้รับ(Knowledge) | 3. ด้านทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา (Cognitive Skills) | 4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา (Interpersonal Skills and Responsibility) | 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา (Numerical Analysis, Communicationand Information Technology Skills) | ||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ลำดับ | รหัสวิชา | ชื่อวิชา | 1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม | 1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ | 1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม | 1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ | 2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา | 2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา | 2.3 สามารถบูรณาการความรู้ทางวิชาชีพกับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง | 2.4 สามารถถ่ายทอดองค์ความรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ | 3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ | 3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ | 4.1 มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี | 4.4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม | 5.4 สามารถใช้ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างถูกต้องตามกาลเทศะและสอดคล้องกับวัฒนธรรมสากล |
1 | GEMWL101 | ภาษาอังกฤษสำหรับบัณฑิตศึกษา |
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล |
---|---|---|---|---|
1 | 2.1-2.4 และ 3.1-3.2 | สอบกลางภาค และปลายภาค | 9, 17 | ร้อยละ 60 |
2 | 1.1-1.4 | การให้คะแนนการเข้าชั้นเรียน และการส่งงานตรงเวลา การสังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาในการเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่ม | ตลอดภาคการศึกษา | ร้อยละ 10 |
3 | 4.1, 4.4, 5.4 | ประเมินจากรายงานหรืองานที่มอบหมาย ประเมินจากใบงาน ประเมินจากความรับผิดชอบงานกลุ่ม ประเมินจากการนำเสนองาน | ตลอดภาคการศึกษา | ร้อยละ 30 |
Sharpe, Pamela J. (2021). Barron’s TOEFL practice exercises : Test of English as a foreign language. Barron's Educational Series. Hauppauge, New York, United States.
ไม่มี
ภาษาอังกฤษฟัง-พูดเชิงวิชาการสำหรับบัณฑิตศึกษา | Academic English Listening and Speaking Skills for Graduate Program, ThaiMooc, https://lms.thaimooc.org/courses/course-v1:KU+KU006+2019/about
การประเมินประสิทธิผลของรายวิชาที่จัดทำโดยนักศึกษาได้จากกิจกรรมดังต่อไปนี้
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
1.3 ข้อเสนอแนะที่อาจารย์ผู้สอนได้จากนักศึกษาผ่านช่องทางการสื่อสารต่าง ๆ
การเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอนมีกลยุทธ์ดังต่อไปนี้
2.1 การสังเกตการณ์การสอนของหัวหน้าสาขาวิชา/หัวหน้าสาขา/ผู้ที่คณะมอบหมาย
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
นำผลประเมินการสอนตามข้อ 2 มาปรับปรุงการสอนโดยการจัดกิจกรรมระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอนดังนี้
3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2 ดำเนินการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
3.3 ให้นักศึกษาเข้าร่วมกิจกรรมทางวิชาการที่ใช้ภาษาอังกฤษ เช่น การประชุมวิชาการ VICSAT ของคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร มทร.ล้านนา
3.3 ให้นักศึกษาเข้าร่วมกิจกรรมทางวิชาการที่ใช้ภาษาอังกฤษ เช่น การประชุมวิชาการ VICSAT ของคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร มทร.ล้านนา
มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ คะแนนภาคปฏิบัติ และการให้คะแนนพฤติกรรม
ผลการประเมินและทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา มาวางแผนปรับปรุงการสอนและรายละเอียดของรายวิชาเพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้นดังนี้
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุกปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้จากรายวิชานี้ ให้เข้ากับบริบทที่มาจากงานวิจัยหรือประสบการณ์ของอาจารย์
5.3 ใช้ผู้สอนต่างประเทศร่วมกับอาจารย์ชาวไทย
5.3 ใช้ผู้สอนต่างประเทศร่วมกับอาจารย์ชาวไทย