การเขียนความเรียง

Essay Writing

1. นักศึกษาสามารถเขียนงานในระดับประโยคโดยสามารถจัดระบบความคิดและเรียบเรียงได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
2. นักศึกษาสามารถใช้ภาษาได้อย่างสละสลวย โดยมีเนื้อหาที่ต่อเนื่อง มีเอกภาพ และเหมาะสมกับบริบท ต่อไปในอนาคต
1. เพื่อเพิ่มความสามารถและพัฒนาการเขียนภาษาอังกฤษได้อย่างมีประสิทธิภาพ 
2. เพื่อให้มีความรู้ความสามารถเป็นพื้นฐานในการทำงานต่อไป 
3. เพื่อพัฒนากิจนิสัยในการศึกษาหาความรู้เพิ่มเติมด้วยตนเอง 
4. เพื่อให้มีเจตคติที่ดีต่อภาษาตะวันตก
กระบวนการเขียน เน้นการจัดระบบความคิด และเรียบเรียงเป็นข้อเขียนระดับประโยคและย่อหน้าชนิดต่างๆ ที่ มีความต่อเนื่องของเนื้อหาและมีเอกภาพ โดยใชภาษาที่สละสลวยเหมาะสมกับบริบท
อาจารยจัดเวลาใหค้าปรึกษาเป็นรายบุคคลรายกลุ่มตามเวลาที่นักศึกษาต้องการ 1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์
พัฒนาผเู้รียนให้มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และมีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม เพื่อให้ผู้เรียนได้พัฒนาตนเอง ให้เป็นบัณฑิตที่มีคุณลักษณะอันเป็นที่พึงประสงค์ของผู้ประกอบการ
- ให้ความรู้โดยสอดแทรกในเนื้อหาของบทเรียนต่างๆ
- กำหนดให้นักศึกษาทำงานมอบหมายด้วยตนเองในทุกบทเรียน โดยค้นคว้าจากแหล่งข้อมูลต่างๆ
- ให้นักศึกษานำความรู้ที่ค้นคว้ามาแลกเปลี่ยนความรู้กับเพื่อนในกลุ่มในช่วงการอภิปรายระดมสมอง
- ให้นักศึกษาได้แสดงความคิดเห็นและช่วยกันระดมสมองเพื่อหาคำตอบที่เหมาะสมที่สุด
 
- พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
- ประเมินผลการนำเสนอรายงานและโครงการในชั้นเรียน (Class Project) ที่มอบหมาย
- การมีส่วนร่วมในกิจกรรมระหวา่งเรียน
- การเข้าร่วมกิจกรรมซึ่งมหาวิทยาลัย คณะฯ สโมสรนักศึกษาฯ สาขาฯ หลักสูตรฯ และชมรมได้จัดขึ้น
 
พัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้และความเข้าใจ ท้ั้งในดานนทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้ออหาของรายวิชา โดยทางทฤษฎีเน้นความรู้ความเข้าใจในกลวิธีการเขียน โครงสร้างของการเขียน ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการใช้ภาษาอังกฤษ ส่วนในหลักการปฏิบัติเน้นการพัฒนาภาษาอังกฤษเพื่อให้ตระหนักถึงความสำคัญของภาษาอังกฤษซึ่งอาจจะเป็นประโยชน์ในการทางานต่อไปในอนาคต
ยึดหลักการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย
- อธิบายเนื้อหาใน Language focus ความรู้จากเนื้อหาในบทเรียนต่าง ๆ แล้วทำ กิจกรรมประกอบ เนื้อหาตามที่กำหนดในบทเรียน
- ร่วมกลุ่มอภิปรายคำตอบและระดมสมองเพื่อหาคำตอบที่เหมาะสมที่สุด
- ศึกษาความรู้จากสื่อประกอบการสอน เช่น เว็บไซต์ออนไลน์ต่าง ๆ
- มอบหมายให้ศึกษาเพิ่มเติมนอกชั้นเรียนด้วยวิธีออนไลน์
- ทดสอบกลางภาคและปลายภาค
-การร่วมกิจกรรมกลุ่มในชั้นเรียน
-การทำแบบฝึกหัดเพิ่มเติมด้วยตนเอง
- Class Project และการนำเสนอผลงานในชั้นเรียน
- งานมอบหมายให้ศึกษาไวยากรณ์เพิ่มเติมออนไลน์
พัฒนาผู้เรียนให้เกิด (1) ทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ด้านวิชาการ โดยนำความรู้ที่ได้ร้บจากการศึกษาเนื้อหาในบทเรียน และจากการค้นคว้าเพิ่มเติมนอกช้้นเรียน มาใชัในสถานการณ์ที่กำหนดให้
(2) ทักษะในการนำความรู้มาประยุกต์และปรับเปลี่ยนได้เหมาะสมตามสถานการณ์และวัฒนธรรมสากล 
- ให้น้กศึกษาฝึกแก้ไขปัญหาการสื่อสารด้วยภาษาอังกฤษในสถานการณ์การสื่อสาร ตามเงื่อนไขทางวัฒนนธรรมที่กำหนด ท้้งเป็นรายบุคคลและเป็นกลุ่มย่อย
- ให้น้กศึกษาระดมสมองเป็นกลุ่มย่อยเพื่อเสนอแนะวิธีการสื่อสารด้วยภาษาอังกฤษ ที่เหมาะสมกับสถานการณ์ตามบริบทของวัฒนธรรมเฉพาะที่กำหนดในกรณีศึกษาจากน้้นอภิปรายเพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและเสนอแนะให้แก่กัน
-แบบฝึกปฏิบัติของนักศึกษา
-การทำกิจกรรมในชั้นเรียน
-การทดสอบกลางภาคและปลายภาค
พัฒนาผู้รียนให้มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดีทั้งต่ออาจารย์ผู้สอน เพื่อนร่วมชั้นเรียน สังคม ภายนอกชั้นเรียน และกลุ่มสังคมอื่น ๆ เพื่อให้น้กศึกษาเกิดความตระหนักรู้และมีความเคารพในวัฒนธรรมที่แตกต่างกันของกลุ่มสังคมต่าง ๆ รู้แนวทางการปฏิบัติตนตามมารยาทสังคมที่เหมาะสมกับบริบทของกลุ่มสังคมเฉพาะต่าง ๆ รวมถึงส่งเสริมการนำความรู้นั้นมาช่วยเหลือสังคมในสถานการณ์การสื่อสารได้อย่างเหมาะสม
- ให้ความรู้เกี่ยวกับแนวปฏิบัติที่ดีตามมารยาทสังคมของกลุ่มสังคมเฉพาะต่าง ๆ
- จัดกิจกรรมแบบกลุ่มย่อยในชั้นเรียนและกระตุ้นให้นักศึกษาเข้าร่วมกลุ่มอย่างสร้างสรรค์ 
- ทำแบบฝึกหัดนอกชั้นเรียนโดยกำหนดให้นักัศึกษาแสวงหาความรู้จากการค้นคว้าหรือสังเกตพฤติกรรมของกลุ่มสังคมต่าง ๆ ที่มีวัฒนธรรมแตกต่างกัน
-การร่วมกิจกรรมกลุ่มในชั้นเรียน
-แบบฝึกหัดเพิ่มเติมนอกชั้นเรียน
-การทดสอบกลางภาคและปลายภาค 
พัฒนาผเู้รียนให้สามารถใช้ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างถูกต้อง ตามกาลเทศะ และสอดคล้องกับวัฒนธรรมสากล เพื่อให้น้กศึกษาสามารถปฏิบัติตนได้อย่างเหมาะสมกับสถานการณ์การ สื่อสารเฉพาะ ตามบริบทของวัฒนธรรมสากล
 
- ให้น้กศึกษาฝึกปฏิบัติในช้้นเรียนตามสถานการณ์การสื่อสารที่กำหนด
- ให้น้กศึกษาฝึกปฏิบัติเพิ่มเติมด้วยตนเองนอกชั้นเรียนผ่านทางบทเรียนออนไลน์และเว็บไซต์ที่กำหนด
- ให้นักศึกษาค้นคว้าหาข้อมูลเพิ่มเติมจากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ท้ั้ง off-line และ on-line
 
-การฝึกปฏิบัติในชั้นเรียน -การฝึกปฏิบัติในบทเรียนออนไลน์ -การร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน -การทดสอบกลางภาคและปลายภาค
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.2 / 1.6 การเข้าเรียน การแต่งกาย การส่งงาน การเข้าร่วมกิจกรรม การทำงานเป็นกลุ่ม ความเอื้อเฟื้อ และความรับผิดชอบในหน้าที่ ทุกสัปดาห์ 10%
2 2.1 / 2.2 สอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน ประเมินผลการเรียนรู้ระหว่างภาค 8 / 17 40%
3 3.1 / 3.3 งานที่มอบหมาย (ใบประกาศนียบัตรออนไลน์) ผลงานและการปฏิบัติของนักศึกษาในชั้นเรียน / ทดสอบย่อย 2-15 50%
Zemach, E. D. & Ghulldu, A. L., (2018). Writing Essay. London: Macmillan
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้ 2.1 การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน 2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา 2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้ 3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน 3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้ 4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร 4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
 
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้ 5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4 5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ