วิศวกรรมเครื่องจักรกลเกษตร

Agricultural Machinery Engineering

ศึกษาสมบัติเชิงกลของดินและพืชที่สำหรับการออกแบบเครื่องจักรกลเกษตร หลักการทำงานของเครื่องจักรกลเกษตร หลักการออกแบบเครื่องจักรกลเกษตรและอุปกรณ์ฟาร์ม ได้แก่ เครื่องมือเตรียมดิน เครื่องปลูก เครื่องจักรเก็บเกี่ยว การทดสอบและการประเมินสมรรถนะเครื่องจักรกลเกษตร มาตรฐานเครื่องจักรกลเกษตร บทนำเศรษฐศาสตร์และการจัดการเครื่องจักรกลเกษตร
เพื่อให้ผู้เรียนศึกษาสมบัติเชิงกลของดินและพืชที่สำหรับการออกแบบเครื่องจักรกลเกษตร หลักการทำงานของเครื่องจักรกลเกษตร หลักการออกแบบเครื่องจักรกลเกษตรและอุปกรณ์ฟาร์ม ได้แก่ เครื่องมือเตรียมดิน เครื่องปลูก เครื่องจักรเก็บเกี่ยว การทดสอบและการประเมินสมรรถนะเครื่องจักรกลเกษตร มาตรฐานเครื่องจักรกลเกษตร บทนำเศรษฐศาสตร์และการจัดการเครื่องจักรกลเกษตร
ศึกษาสมบัติเชิงกลของดินและพืชที่สำหรับการออกแบบเครื่องจักรกลเกษตร หลักการทำงานของเครื่องจักรกลเกษตร หลักการออกแบบเครื่องจักรกลเกษตรและอุปกรณ์ฟาร์ม ได้แก่ เครื่องมือเตรียมดิน เครื่องปลูก เครื่องจักรเก็บเกี่ยว การทดสอบและการประเมินสมรรถนะเครื่องจักรกลเกษตร มาตรฐานเครื่องจักรกลเกษตร บทนำเศรษฐศาสตร์และการจัดการเครื่องจักรกลเกษตร
-   อาจารย์ประจำรายวิชา   -   อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
1.1 คุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา 
พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรยาบรรณวิชาชีพ เคารพในสิทธิของส่วนบุคคล   มีความซื่อสัตย์ในวิชาชีพอย่างมีคุณภาพ โดยมีคุณธรรม จริยธรรมตามคุณสมบัติหลักสูตร  ดังนี้
ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื้อสัตย์สุจริต มีวินัย  ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสงคม มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลำดับความสำคัญ เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นผู้อื่น  รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม สามารถวิเคราะห์ผลกระทบจากการใช้วิศวกรรมเครื่องจักรกลเกษตรต่อบุคคลองค์กรและสังคมมีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
1.2.1   บรรยายพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษา เกี่ยวกับประเด็นทางจริยธรรมที่เกี่ยวข้องกับการใช้เครื่องจักรกลเกษตร   เช่น การวางแผนการใช้ และการบำรุงรักษา รวมทั้งการดัดแปลงแก้ไข ประยุกต์และพัฒนาให้เหมาะสมกับสภาพการใช้งาน 1.2.2  กำหนดให้นักศึกษาฝึกปฏิบัติจริงที่เกี่ยวข้อง พร้อมทั้งทำรายงานประกอบ
1.3.1   พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา 1.3.2   มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม 1.3.3   ประเมินผลการวิเคราะห์กรณีศึกษา 1.3.4   ประเมินผลการนำเสนอรายงานที่มอบหมาย
มีความรู้เกี่ยวกับทฤษฎีและปฏิบัติเกี่ยวกับการประยุกต์หลักการทางวิศวกรรมสำหรับ เครื่องมือเตรียมดิน เครื่องมือเพาะปลูก เครื่องมือที่ใช้กับสารเคมีเกษตร เครื่องมือเก็บเกี่ยวหญ้าและธัญพืช เครื่องมือเก็บเกี่ยวเมล็ด เครื่องมือเก็บเกี่ยวผัก หัว และผลไม้ เครื่องมือลำเลียงวัสดุทางการเกษตร และการจัดการเครื่องจักรกลเกษตร
บรรยาย   การทำงานกลุ่ม   การวิเคราะห์กรณีศึกษา และมอบหมายให้ค้นหาบทความ ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง โดยนำมาสรุปและนำเสนอ การศึกษาโดยใช้ปัญหา  และโครงงาน Problem – based Learning และเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
2.3.1   ทดสอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี 2.3.2   ประเมินจากการทำรายงายด้วยการค้นคว้าข้อมูล  กรณีศึกษา หรือโจทย์จาก Problem – based Learning 
3.1 ทักษะทางปัญญา ที่ต้องพัฒนา 
พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างมีการคิดอย่างเป็นระบบ มีการวิเคราะห์ เพื่อการป้องกันและแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น จากการใช้ ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับการประยุกต์หลักการทางวิศวกรรมสำหรับ เครื่องมือเตรียมดิน เครื่องมือเพาะปลูก เครื่องมือที่ใช้กับสารเคมีเกษตร เครื่องมือเก็บเกี่ยวหญ้าและธัญพืช เครื่องมือเก็บเกี่ยวเมล็ด เครื่องมือเก็บเกี่ยวผัก หัว และผลไม้ เครื่องมือลำเลียงวัสดุทางการเกษตร และการจัดการเครื่องจักรกลเกษตร
3.2.1  อภิปรายกลุ่ม 3.2.2   วิเคราะห์กรณีศึกษา  ในการนำใช้เครื่องจักรกลเกษตรที่เหมาะสม 3.2.3   การสะท้อนแนวคิดจากการประพฤติ
3.3.1   สอบกลางภาคและปลายภาค  โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์และการประยุกต์ใช้เครื่องจักรกลเกษตร 3.3.2   วัดผลจากการประเมินโครงการ  การนำเสนอผลงาน 3.3.3   สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
 
4.1.1   พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน 4.1.2   พัฒนาความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานเป็นทีม 4.1.3   พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วนตามกำหนดเวลา  แก้ไข
4.2.1   จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์กรณีศึกษา 4.2.2   มอบหมายงานรายกลุ่ม เช่น การใช้เครื่องจักรกลเกษตรและการบำรุงรักษา รวมทั้งการดัดแปลงแก้ไข ประยุกต์และพัฒนาให้เหมาะสมกับสภาพการใช้งาน 4.2.3   การนำเสนอรายงาน
4.3.1   ประเมินตนเอง และเพื่อน ด้วยแบบฟอร์มที่กำหนด 4.3.2  ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ  พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม 4.3.3   ประเมินจากรายงานการศึกษาด้วยตนเอง 
5.1.1   ทักษะการคิดคำนวณ เชิงตัวเลข 5.1.2   พัฒนาทักษะในการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง การแปล การเขียน โดยการทำรายงาน และนำเสนอในชั้นเรียน 5.1.3   พัฒนาทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลจากกรณีศึกษา 5.1.4   พัฒนาทักษะในการสืบค้น  ข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต 5.1.5   ทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสื่อสาร เช่น การส่งทางอีเมล์ การสร้างห้องแสดงความคิดเห็นในเรื่องต่าง ๆ เช่น Wed Board Blog การสื่อสารการทำงานในกลุ่มผ่านห้องสนทนา Chat Room 5.1.6   ทักษะในการนำเสนอรายงานโดยใช้รูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม 
5.2.1   มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากเว็บไซต์สื่อการสอน E- Learning และทำรายงานโดยเน้นการนำตัวเลข หรือมีสถิติอ้างอิง จากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ 5.2.2   นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม 
5.3.1   ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี 5.3.2   ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
มีทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์และวิธีการได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีทักษะในการปฏิบัติงานกลุ่ม มีการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบและมีความร่วมมือกันเป็นอย่างดี
สาธิตและลงมือปฏิบัติจริง การมอบหมายงานเป็นรายบุคคล  สรุปงานที่ได้ลงมือปฏิบัติจริงที่ได้รับมอบหมาย
ประเมินผลสัมฤทธิ์จากงานที่ได้รับมอบหมายและสังเกตุพฤติกรรมที่แสดงออกในการทำกิจกรรมต่าง ๆ
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา คุณธรรมจริยธรรม ความรู้ ทักษะทางปัญญา ทักษะทางความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ด้านทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา กำหนดให้มีวัฒนธรรมองค์กร เพื่อเป็นการปลูกฝังให้นักศึกษามีระเบียบวินัย โดยเน้นการเข้าชั้นเรียนให้ตรงเวลาตลอดจนการแต่งกายที่เป็นไปตามระเบียบของมหาวิทยาลัย นักศึกษาต้องมีความรับผิดชอบโดยในการทำงานกลุ่มนั้นต้องฝึกให้รู้หน้าที่ของการเป็นผู้นำกลุ่มและการเป็นสมาชิกกลุ่ม มีความซื่อสัตย์โดยต้องไม่กระทำการทุจริตในการสอบหรือลอกการบ้านของผู้อื่น เป็นต้น นอกจากนี้อาจารย์ผู้สอนทุกคนต้องสอดแทรกเรื่องคุณธรรม จริยธรรมในการสอนทุกรายวิชา รวมทั้งมีการจัดกิจกรรมส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม เช่น การยกย่องนักศึกษาที่ทำดี ทำประโยชน์แก่ส่วนรวม เสียสละ ใช้การเรียนการสอนในหลากหลายรูปแบบ โดยเน้นหลักการทางทฤษฎี และประยุกต์ทางปฏิบัติในสภาพแวดล้อมจริง โดยทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี ทั้งนี้ให้เป็นไปตามลักษณะของรายวิชาตลอดจนเนื้อหาสาระของรายวิชานั้นๆ นอกจากนี้ควรจัดให้มีการเรียนรู้จากสถานการณ์จริงโดยการศึกษาดูงานหรือเชิญผู้เชี่ยวชาญที่มีประสบการณ์ตรงมาเป็นวิทยากรพิเศษเฉพาะเรื่อง ตลอดจนการฝึกปฏิบัติงานในสถานประกอบการ 1.กรณีศึกษาทางการประยุกต์ในสาขาวิชา 2.การอภิปรายกลุ่ม หรือการศึกษา ค้นคว้า รายงานทางเอกสารและรายงานหน้าชั้นเรียน 3.ให้นักศึกษามีโอกาสปฏิบัติจริง ใช้การสอนที่มีการกำหนดกิจกรรมให้มีการทำงานเป็นกลุ่ม การทำงานที่ต้องประสานงานกับผู้อื่นข้ามหลักสูตร หรือต้องค้นคว้าหาข้อมูลจากการสัมภาษณ์บุคคลอื่น หรือผู้มีประสบการณ์ โดยมีความคาดหวังในผลการเรียนรู้ดัานทักษะความสัมพันธ์ระหว่างตัวบุคคลและความสามารถในการรับผิดชอบ ดังนี้ 1.สามารถทำงานกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี 2.มีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย 3.สามารถปรับตัวเข้ากับสถานการณ์และวัฒนธรรมองค์กรที่ไปปฏิบัติงานได้เป็นอย่างดี 4.มีภาวะผู้นำ มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีกับผู้ร่วมงานในองค์กรและกับบุคคลทั่วไป 5.ส่งเสริมการเคารพสิทธิและการรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น 1.จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรายวิชาต่างๆ ให้นักศึกษาได้วิเคราะห์สถานการณ์จำลอง และสถานการณ์เสมือนจริง และนำเสนอการแก้ปัญหาที่เหมาะสมเรียนรู้เทคนิค การประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศในหลากลายสถานการณ์ที่สามารถประยุกต์ใช้ในห้องปฏิบัติการ 2.ส่งเสริมการค้นคว้า เรียบเรียงข้อมูล และนำเสนอให้ผู้อื่นเข้าใจได้ถูกต้อง และให้ความสำคัญในการอ้างอิงแหล่งที่มาของข้อมูล จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรายวิชาต่างๆ ให้นักศึกษาได้ลงมือปฏิบัติจริง โดยใช้ความรู้จากวิชาต่างๆ ที่เรียนมา การวิเคราะห์เพื่อแก้ปัญหา เพื่อให้เกิดการพัฒนาการเรียนรู้ด้านทักษะพิสัย ดังข้อต่อไปนี้ 1.สร้างทักษะในการปฏิบัติงาน2.สาธิตการปฏิบัติการโดยผู้เชี่ยวชาญ 3.สนับสนุนการเข้าร่วมกิจกรรม กับหน่วยงานภายในและภายนอก 4.จัดนิทรรศการแสดงผลงานของนักศึกษา 5.สนับสนุนการทำโครงงาน
1 ENGAG215 วิศวกรรมเครื่องจักรกลเกษตร
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.3.1 2.3.2 สอบกลางภาค สอบปลายภาค สอบปฏิบัติ 8 17 40 % 40% 20%
2 2.3.2 ,3.3.2, 3.3.3 ,3.4.3.,3.5.1,3.5.2 และ3.5.3 การทำงานกลุ่มและผลงาน การส่งงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 20%
3 2.1.1., 2..1.2 และ2.1.3 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
- เอกสารประกอบการเรียนการสอนวิชาเครื่องจักรกลเกษตร  ภาควิชาวิศวกรรมเกษตร  คณะวิศวกรรมศาสตร์  มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์  วิทยาเขตกำแพงแสน  รศ.พันธุ์ พหลโยธิน  ศิริ  ลียวัฒนานุพงศ์  และ ณรงค์  อุ่นคง - เอกสารประกอบการเรียนการสอนวิชาปฏิบัติการเครื่องจักรกลเกษตร  ภาควิชาวิศวกรรมเกษตร  คณะวิศวกรรมศาสตร์  มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์  วิทยาเขตกำแพงแสน  รศ.พันธุ์ พหลโยธิน  ศิริ  ลียวัฒนานุพงศ์  และ ณรงค์  อุ่นคง
-เครื่องจักรกลการเกษตร   เล่ม 1 ผ.ศ.จิราภรณ์  เบญจประกายรัตน์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ,2544
-อุปกรณ์และเครื่องจักรกลการเกษตร    รศ.บพิตร ตั้งวงศ์กิจ  รศ.ดร.รัตนา ตั้งวงศ์กิจ  ภาควิชาเกษตรกลวิธาน คณะเกษตร กำแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์วิทยาเขตกำแพงแสน,2550  
-เครื่องทุ่นแรงในฟาร์ม 1 ภาค เครื่องทุ่นแรงสำหรับเตรียมดินและปลูกพืช   ผ.ศ.เสมอขวัญ ตันติกุล ,2550
- Engineering  Principles  of Agricultural  Machines Third Edition  Ajit  K. Srivastava  Carroll E. Goering and Roger P. Rohrbach -  Standards 1987 American Society of Agricultural Engineers 
www.asabe.org (American Society of Agricultural and Biological Engineers) http://www.tsae.asia/ (สมาคมวิศวกรรมเกษตรแห่งประเทศไทย)
วินิต   ชินสุวรรณ. 2530. เครื่องจักกลเกษตรและการจัดการเบื้องต้น. ภาควิชาวิศวกรรมเกษตร คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. พันทิพา   อินทรวิชัย. 2544. เครื่องทุ่นแรงฟาร์ม ภาค 2. ศูนย์ฝึกอบรมวิศวกรรมเกษตร บางพูน ปทุมธานี.
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำ เป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้ 2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน 2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา 2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้ 3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน 3.2   การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้ 4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร 4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้ 5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4 5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ