อิเล็กทรอนิกส์กำลัง

Power Electronics

1. มีความรู้ และความเข้าใจเห็นความสำคัญของระบบอิเล็กทรอนิกส์กำลัง 2. มีความรู้ และความเข้าใจคุณสมบัติและการนำไปใช้งานของสวิตซ์อิเล็กทรอนิกส์กำลัง 3. มีความรู้ และความเข้าใจคุณลักษณะของวัสดุแม่เหล็ก และแกนหม้อแปลงชนิดต่างๆ 4. เพื่อศึกษา และวิเคราะห์วงจรเรียงกระแสแบบควบคุมไม่ได้ และควบคุมได้ 5. เพื่อศึกษา และวิเคราะห์วงจรแปลงผันกระแสสลับเป็นกระแสสลับ 6. เพื่อศึกษา และวิเคราะห์วงจรชอปเปอร์ 7. เพื่อศึกษา และวิเคราะห์วงจรอินเวอร์เตอร์ 8. มีความรู้ และความเข้าใจในการขับเคลื่อนมอเตอร์กระแสตรงด้วยอิเล็กทรอนิกส์กำลัง 9. มีความรู้ และความเข้าใจในการขับเคลื่อนมอเตอร์กระแสสลับด้วยอิเล็กทรอนิกส์กำลัง
เพื่อปรับปรุงองค์ความรู้ต่าง ๆ ให้ทันสมัยต่อยุคปัจจุบัน ที่มีการพัฒนาเทคโนโลยีไปอย่างกว้างขวาง เช่น งานระบบโซล่าร์เซลล์  กังหันลม  รถยนต์ไฟฟ้า เป็นต้น ศึกษา การใช้โปรแกรม MathLab Simulink ในงานอิเล็กทรอนิกส์กำลัง
ศึกษาเกี่ยวกับ คุณลักษณะของอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์กำลัง หลักการแปลงผันไฟฟ้า กระแสสลับเป็นกระแสตรง หลักการแปลงผันไฟฟ้ากระแสสลับเป็นกระแสสลับ หลักการแปลงผันไฟฟ้ากระแสตรงเป็นกระแสตรง หลักการแปลงผันไฟฟ้ากระแสตรง เป็นกระแสสลับ การประยุกต์ใช้งานวงจรอิเล็กทรอนิกส์กำลัง
อาจารย์ประจำรายวิชา   สามารถติดต่อได้ด้วยเบอร์โทรศัพท์มือถือ  อีเมล์  ไลน์ MS-Team
พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ  รักษ์สิ่งแวดล้อม มีวินัย มีจรรยาบรรณวิชาชีพ รู้จักประหยัดพลังงานต่าง ๆ  เพื่อลดโลกร้อน  โดยมีคุณธรรม จริยธรรมตามคุณสมบัติหลักสูตร  ดังนี้

ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย  ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสงคม มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามสามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งระหว่างการพัฒนาควบคู่ไปกับการรักษาสิ่งแวดล้อม เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นผู้อื่น  รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม สามารถวิเคราะห์ผลกระทบจากการใช้พลังงานชนิดต่าง ๆ ต่อสังคมชุมชน

มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
บรรยาย  อภิปรายแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในห้องเรียน  ให้นักศึกษาทำการบ้าน แบบทดสอบ  รายงาน ในหัวข้อดังต่อไปนี้ 1.2.1 คุณลักษณะ สวิตช์อิเล็กทรอนิกส์กำลัง ได้แก่ ไดโอด เอสซีอาร์ ไทรแอค ทรานซิสเตอร์         มอสเฟต ไอจีบีที 1.2.2 คุณลักษณะของวัสดุแม่เหล็ก แกนหม้อแปลงกำลัง 1.2.3 วงจรเรียงกระแสเฟสเดียว 1.2.4 วงจรเรียงกระแสสามเฟส 1.2.5 วงจรเรียงกระแสควบคุมได้เฟสเดียว 1.2.6 วงจรเรียงกระแสควบคุมได้สามเฟส 1.2.7 วงจรควบคุมแรงดันไฟฟ้ากระแสสลับเฟสเดียว 1.2.8 วงจรควบคุมแรงดันไฟฟ้ากระแสสลับสามเฟส 1.2.9 วงจรชอปเปอร์   วงจรบัค วงจรบูส  วงจรบัค-บูส วงจรชุก วงจรซีพิก 1.2.10 วงจรอินเวอร์เตอร์เฟสเดียว 1.2.11 วงจรอินเวอร์เตอร์สามเฟส 1.2.12 การขับเคลื่อนมอเตอร์กระแสสลับสามเฟส 1.2.13 ศึกษา การใช้โปรแกรม MathLab Simulink ในงานอิเล็กทรอนิกส์กำลัง
1.3 วิธีการประเมินผล
1.3.1   พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา 1.3.2   ประเมินผลจาก การออกแบบ คำนวณ สรุป วิเคราะห์โจทย์ต่าง ๆ ที่ได้มอบหมาย
การออกแบบ คำนวณ  คุณลักษณะ สวิตช์อิเล็กทรอนิกส์กำลัง ได้แก่ ไดโอด เอสซีอาร์ ไทรแอค ทรานซิสเตอร์ มอสเฟต ไอจีบีที คุณลักษณะของวัสดุแม่เหล็ก แกนหม้อแปลงกำลัง     คุณลักษณะวงจรเรียงกระแสเฟสเดียว    คุณลักษณะวงจรเรียงกระแสสามเฟส   คุณลักษณะวงจรเรียงกระแสควบคุมได้เฟสเดียว   คุณลักษณะวงจรเรียงกระแสควบคุมได้สามเฟส    คุณลักษณะวงจรควบคุมแรงดันไฟฟ้ากระแสสลับเฟสเดียว-สามเฟส  คุณลักษณะวงจรชอปเปอร์   วงจรบัค  วงจรบูส  วงจรบัค-บูส วงจรชุก  วงจรซีพิค คุณลักษณะวงจรอินเวอร์เตอร์เฟสเดียวและสามเฟส   การขับเคลื่อนมอเตอร์กระแสสลับสามเฟส 
บรรยาย  อภิปราย     ให้นักศึกษามีการค้นคว้าเพิ่มเติม เรียนรู้ด้วยตนเองจากข้อมูลผู้ผลิต จากเว็บไซต์ต่าง ๆ  และเอกสารประกอบต่าง ๆ  เพื่อให้นักศึกษาสามารถสรุปวิเคราะห์เป็นรายงานด้วยตนเองได้  ทำแบบทดสอบในระบบอี-เลิร์นนิ่ง  และเน้นผู้เรียนเป็นสำคั
  2.3.1  คะแนนผลการสอบกลางภาค และสอบปลายภาค   2.3.2  คะแนน กิจกรรม  แบบทดสอบ และรายงานในระบบ อีเลิร์นนิ่ง
พัฒนาความสามารถในการสรุป วิเคราะห์ คำนวณ ออกแบบคอนเวอร์เตอร์ ชนิดต่าง ๆ ได้   สามารถเลือกใช้อุปกรณ์สวิตช์อิเล็กทรอนิกส์กำลังได้ 
บรรยาย  และเทคนิคการทดลองปฏิบัติการต่าง ๆ การใช้เครื่องมือวัดต่าง ๆ  การใช้อุปกรณ์คอนเวอร์เตอร์ต่าง ๆ ในห้องปฏิบัติการ      ให้นักศึกษามีการค้นคว้าเพิ่มเติม เรียนรู้ด้วยตนเองจากข้อมูลผู้ผลิต จากเว็บไซต์ต่าง ๆ  และเอกสารประกอบต่าง ๆ  เพื่อให้นักศึกษาสามารถสรุปวิเคราะห์เป็นรายงานด้วยตนเองได้  ทำแบบทดสอบ และเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
  3.3.1  คะแนนการสอบกลางภาค และสอบปลายภาค   3.3.2  คะแนน กิจกรรม  แบบทดสอบ การคำนวณ 
4.1.1   พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน 4.1.2   พัฒนาความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานเป็นทีม 4.1.3   พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง มีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบตามกำหนดเวลา
4.2.1   จัดกิจกรรมกลุ่ม เพื่อวิเคราะห์กรณีศึกษา ที่เกี่ยวข้องกับรายวิชา 4.2.2   มอบหมายงานรายกลุ่มหรือรายบุคคล   อ่านบทความที่เกี่ยวข้องกับรายวิชา
4.3.1  คะแนนจากกิจกรรมกลุ่ม และแบบทดสอบ 4.3.2  ประเมินจากการมีส่วนร่วมในห้องเรียน 4.3.3  ประเมินจากรายงานการศึกษาด้วยตนเอง  
5.1.1   ทักษะการคิดคำนวณ เชิงตัวเลข โดยใช้แบบทดสอบ สูตรการคำนวณต่าง ๆ 5.1.2   พัฒนาทักษะในการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง การเขียน โดยการทำรายงาน และนำเสนอในชั้นเรียน  5.1.3   พัฒนาทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลจากกรณีศึกษา จากกการค้นคว้าข่าวสารต่าง ๆ 5.1.4   พัฒนาทักษะในการสืบค้น  ข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
5.2.1   มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากเว็บไซต์สื่อการสอน และทำรายงานโดยเน้นการใช้ข้อมูลจากผู้ผลิต  จากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ เช่นเว็ปไซต์ของผู้ผลิต 5.2.2   นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม เช่น power point , PDF
5.3.1   ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี 5.3.2   ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย หรือกระดานเสวนา
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 สอบกลางภาค สอบกลางภาค 9 30
2 สอบปลายภาค สอบปลายภาค 18 30