กระบวนการผลิตสำหรับวิศวกรรมเครื่องกล

Manufacturing Processes for Mechanical Engineering

รู้และเข้าใจเกี่ยวกับทฤษฎีและแนวคิดทางกระบวนการผลิตสำหรับวิศวกรรมเครื่องก เช่น  กรรมวิธีการหล่อโลหะ การขึ้นรูปโลหะด้วยกระบวนการตัดเฉือนการเชื่อมประสาน ความสัมพันธ์ของวัสดุกับกระบวนการผลิต การปรับปรุงคุณสมบัติของโลหะด้วยความร้อนเช่น โลหะกับการขึ้นรูป พอลิเมอร์กับการขึ้นรูป หลักมูลของการประเมินราคาทางด้านกระบวนการผลิตสาหรับวิศวกรรมเครื่องกล กรรมวิธีการผลิตด้วยเครื่องมือกลอัตโนมัติ การเขียนโปรแกรมซีเอ็นซี เทคโนโลยีการขึ้นรูปชิ้นส่วนโลหะโดยใช้เครื่องพิมพ์ 3มิติ เทคโนโลยีการผลิตแบบเติมเนื้อวัสดุ การประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์ช่วยในการผลิตเบื้องต้น
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจในกระบวนการผลิตขั้นพื้นฐานของทางวิศวกรรม อันเป็นแนวทางในการศึกษาต่อในแขนงวิชาที่เกี่ยวข้องและการนำไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวันต่อไป  แก้ไข
ศึกษาเกี่ยวกับทฤษฎีและแนวคิดทางกระบวนการผลิตสำหรับวิศวกรรมเครื่องกลเช่น กรรมวิธีการหล่อโลหะ การขึ้นรูปโลหะด้วยกระบวนการตัดเฉือนการเชื่อมประสาน ความสัมพันธ์ของวัสดุกับกระบวนการผลิต การปรับปรุงคุณสมบัติของโลหะด้วยความร้อนเช่น โลหะกับการขึ้นรูป พอลิเมอร์กับการขึ้นรูป หลักมูลของการประเมินราคาทางด้านกระบวนการผลิตสาหรับวิศวกรรมเครื่องกล กรรมวิธีการผลิตด้วยเครื่องมือกลอัตโนมัติ การเขียนโปรแกรมซีเอ็นซี เทคโนโลยีการขึ้นรูปชิ้นส่วนโลหะโดยใช้เครื่องพิมพ์ 3มิติ เทคโนโลยีการผลิตแบบเติมเนื้อวัสดุ การประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์ช่วยในการผลิตเบื้องต้น
๓ ชั่วโมงต่อสัปดาห์
1.1 คุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา 
      ผลการเรียนรู้ เมื่อนักศึกษาเรียนสิ้นสุดรายวิชานี้ นักศึกษาจะมีคุณลักษณะดังนี้             ๑ มีความรับผิดชอบ ซื่อสัตย์สุจริต และตรงต่อเวลา             ๒ สามารถทำงานเป็นทีมและแก้ไขปัญหาได้             ๓ มีจรรยาบรรณทางวิชาชีพ
  ๑  บรรยาย พร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษา   ๒ อภิปรายกลุ่มและให้นักศึกษาหาตัวอย่างที่เกี่ยวข้อง
ประเมินพฤติกรรมที่เข้าเรียนและรายงานที่ได้รับมอบหมาย
มีความรู้เกี่ยวกับกรรมวิธีการผลิตทางวิศวกรรมเครื่องกลขั้นพื้นฐาน กรรมวิธีการหล่อโลหะ การขึ้นรูปโลหะด้วยกระบวนการตัดเฉือนการเชื่อมประสาน ความสัมพันธ์ของวัสดุกับกระบวนการผลิต การปรับปรุงคุณสมบัติของโลหะด้วยความร้อนเช่น โลหะกับการขึ้นรูป พอลิเมอร์กับการขึ้นรูป หลักมูลของการประเมินราคาทางด้านกระบวนการผลิตสาหรับวิศวกรรมเครื่องกล กรรมวิธีการผลิตด้วยเครื่องมือกลอัตโนมัติ การเขียนโปรแกรมซีเอ็นซี เทคโนโลยีการขึ้นรูปชิ้นส่วนโลหะโดยใช้เครื่องพิมพ์ 3มิติ เทคโนโลยีการผลิตแบบเติมเนื้อวัสดุ การประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์ช่วยในการผลิตเบื้องต้น
บรรยาย  อภิปราย  นำเสนอรายงาน
งานที่มอบหมาย สอบกลางภาคและปลายภาค
3.1 ทักษะทางปัญญา ที่ต้องพัฒนา 
     พัฒนาแนวความคิดให้เป็นระบบ และมีแบบแผน มีการวิเคราะห์และแก้ไขปัญหาอย่างเป็นเหตุเป็นผล
งานที่มอบหมายเป็นรายบุคคล
งานที่มอบหมาย สอบกลางภาคและปลายภาค
4.1 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ที่ต้องพัฒนา 
      พัฒนาทักษะในการทำงานร่วมกับผู้อื่น
มอบหมายรายงานเป็นรายบุคคล
งานที่ได้รับมอบหมาย
5.1 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา 
      นักศึกษาคำนวนหาความเร็วรอบ อัตราการป้อน และความเร็วตัด
บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ
งานมอบหมาย
6.1 ผลการเรียนรู้ด้านทักษะพิสัย 6.1.1 มีทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลา 
6.2.1 ให้ความสำคัญต่อการนำเสนอ การมีส่วนร่วมในการเรียน
6.3.1  สังเกตพฤติกรรมการเรียนการนำเสนองาน
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 เข้าใจในกระบวนการวัดการตรวจสอบ การนำเสนอหน้าชั้นเรียน 6 10
1. รังสรรค์ นาทอง, (2558),  กรรมวิธีการผลิต, กรุงเทพฯ: แม็คเอ็ดดูเคชั่น
2. บุญธรรม ภัทราจารุกุล, (2553), กรรมวิธีการผลิต, กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น
3. อนุวัฒน์ จุติลาภถาวร, (2548), กรรมวิธีการผลิต 2, นครนายก: ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ  
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
4. กุณฑล ทองศรี, (2547), กรรมวิธีการผลิต,  ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องจักรกลการเกษตร,  สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล 
5. ศิริชัย ต่อสกุล และอนุษา วัฒนาภา, (2560), พื้นฐานเทคโนโลยีการขึ้นรูปโลหะ, ซีเอ็ดยูเคชั่น
6. ชานนท์ สุขตาอยู่ และคณะ, (2547), แม่พิมพ์ปั้มโลหะแผ่น, กรุงเทพฯ: สมาคมอุตสาหกรรม แม่พิมพ์ไทย
7. ณรงค์ศักดิ์ ธรรมโชติ, (2558), วัสดุวิศวกรรม, กรุงเทพฯ: ซีเอ็นยุเคชั่น
8. ณรงค์ศักดิ์ ธรรมโชติ, (2556), โลหะวิทยา, พิมพ์ครั้งที่1, กรุงเทพฯ: สำนักพิมแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
9. โกศล ดีศีลธรรม, (2547), กลยุทธ์และกลวิธีการเพิ่มผลผลิตภาพ, กรุงเทพฯ: พิมพ์ครั้งที่ 2
เอ็กซเปอร์เน็ท
10. สมบูรณ์ เต็งหงส์เจริญ, ม.ป.ป, การเชื่อมโลหะ 1, กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ศูนย์ส่งเสริมวิชาการ
11. ณรงศ์ศักดิ์  ธรรมโชติ,  (2549), วัสดุวิศวกรรม,  กรุงเทพฯ: บริษัทซีเอ็ดบูเคชั่นจำกัด
12. อำนาจ ทองแสน, (2559), งานเครื่องมือกลเบื้องต้น, กรุงเทพฯ: บริษัท วี.พริ้นท์ (1991) จำกัด
13. ฝ่ายวิชาการ บริษัท สกายบุ๊กส์ จำกัด, (2547), เครื่องมือกลเบื้องต้น, กรุงเทพฯ : สกายบุ๊กส์
14. จำเนียร ศิลปะวานิชและเสนห์ กลิ่นบุนนาค, (2540), คู่มือฝึกฝีมือพื้นฐานเบื้องต้นทฤษฎีช่างกลทั่วไป, นนทบุรี: เจริญรุ่งเรืองการพิมพ์
15. วิทยา ทองขาว, ม.ป.ป, งานเชื่อมแก๊สและเชื่อมไฟฟ้าเบื้องต้น, กรุงเทพฯ: หจก.เอช-เอน การพิมพ์
16. วิเชียร คชานุกูลบ์., ม.ป.ป, งานเชื่อมขั้นพื้นฐาน, กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ พิทักษ์อักษร
17. นริศ ศรีเมฆและพิชัย โอภาสอนันต์, (2556), งานเชื่อมและโลหะแผ่นเบื้องต้น, นนทบุรี: สำนักพิมพ์เอมพันธ์ จำกัด
18. วีระ รัตนไชย, ม.ป.ป, งานเชื่อมโลหะเบื้องต้น, กรุงเทพฯ: หจก.นำอักษรการพิมพ์
19. Benjamin W. Niebel, Alan B. Draper and Richard A. Wysk, (1989), Modern  Manufacturing Processes Engineering, New York. McGraw-Hill
20. B. H. Amstead, Phillip F. Ostwald and Myron L. Begeman, (1986), Manufacturing  Processes, Singapore, John Wiley & Sons
21. David L. Goetsch, (1991), Modern Manufacturing Processes, New York, Delmar   Publisher
22. Dave Smith, (1986), Welding Skills and Technology, Singapore, McGraw-Hill
23. Gower A. Kennedy, (1976), Welding Technology, Indianapolis, Howard W. Sams &  Co.Inc
24. John R. Wright and Larry D. Helsel, Introduction to Materials & Processes, New York, Delmar Publishers
25. Mikell P. Groover, (1996), Fundamentals of Modern Manufacturing : Materials,  Processes and Systems, USA, Prentice-Hall International Inc.
26. Serope Kalpakjian, (1995), Manufacturing Engineering and Technology, New York, Addison-Wesley Publishing Company
27. Abner S., (1974), Introduction to Physical Metallurgy, 2nd Edition, Singapore, McGraw-Hill, Inc.,
28. Askeland D.R., (1994), The Science and Engineering of Materials, 3rd  Edition, USA Boston, PWS Publishing Company,
29. Askeland D.R and Phulé P.P., (2003), The Science and Engineering of Materials, USA, 4th Edition, Thomson I earning, Inc.,
30. Black J.T. and Kohser R.A., (2013), DeGarmo's Materials and Processes in Manufacturing, 11th  Edition, Singapore, John Willey & Sons, Inc.
31. Budinski K.G. and Budinski M.K., (2002), Engineering Material: Properties and Selection, 7th  Edition, USA, Pearson Education International, Inc.
32. Callister W.D.Jr, (2003), Materials Science and Engineering an Introduction, USA6th Edition, John Wiley & Sons, Inc.,
33. Groover M.P., (2002), Fundamentals of Modern Manufacturing, Materials, Processes, and Systems, 2hd  Singapore, Edition, John Willey & Sons, Inc.,
34. Groover M.P., (2007), Automation, Production Systems, and Computer Integrated Manufacturing, 3rd  Edilion, USA, Prentice-Hall Inc.,
35. Kapakjian S. and Schmid S.R., (2006), Manufacturing Engineering and Technology, 5th  Edition, Singapore, Pearson Prentice Hall,
36. Kapakjian S. and Schmid S.R., 2008, Manufacturing Processes for Engineering Materials, 5th Edition, Pearson Prentice Hall, Singapore.
 
เอกสารและข้อมูลสำคัญ
37. ขั้นตอนการสร้างผลิตภัณฑ์ สืบค้าหา 27 มิถุนายน 2564
ที่มา : https://shorturl.asia/LV2FH
38. การเลือกกระบวนการผลิตที่เหมาะสม สืบค้าหา 27 มิถุนายน 2564
ที่มา : https://docs.microsoft.com/th-th/dynamics365/supply-chain/production-
control/routes-operations
39. โครงสร้างพื้นฐานและผลึกของโลหะ สืบค้าหา 27 มิถุนายน 2564
 ที่มา : http://www.rmutphysics.com/charud/scibook/metalswu/lesson2-25.htm
40. แนวบกพร่องแบบเกลียว (Screw dislocation) สืบค้าหา 27 มิถุนายน 2564
ที่มา : https://novocom.top/view/7728cc-edge-dislocation-line-defect/
41.ลักษณะเกรนที่เกิดขึ้นในแบบหล่อโลหะ สืบค้าหา 27 กรกฎาคม 2564
ที่มา : https://slideplayer.in.th/slide/17726782/
42. ทุ่นเย็นชนิดต่างๆ สืบค้าหา  27 กรกฎาคม 2564
ที่มา : https://citly.me/ISHiE
43. จุดบกพร่องในงานหล่อโดยทั่วๆ ไป สืบค้าหา 27 กรกฎาคม 2564
ที่มา : https://slideplayer.com/slide/8287414/
44. ลักษณะของไส้แบบที่ประกอบในแบบหล่อ สืบค้าหา 27 กรกฎาคม 2564
ที่มา : https://slidetodoc.com/chapter-4-metal-casting-process-chapter-outline-4/
45. องค์ประกอบของการรีดแบน สืบค้าหา 29 กรกฎาคม 2564
ที่มา : https://slidetodoc.com/chapter-13-rolling-of-metals-introduction-rolling-is/
46. ลักษณะการตีขึ้นรูปแบบต่างๆ สืบค้าหา 29 กรกฎาคม 2564
ที่มา : https://citly.me/N7wlr
47. การขึ้นรูปก้านสูบด้วยแม่พิมพ์ปิด สืบค้าหา 29 กรกฎาคม 2564
ที่มา : https://citly.me/VX5xC
48. ลักษณะรูปทรงหน้าตัดแบบต่างๆ ของชิ้นงานที่ขึ้นรูปด้วยการอัดรีดขึ้นรูป สืบค้าหา 29 กรกฎาคม 2564
ที่มา : https://engineeringproductdesign.com/knowledge-base/metal-extrusion/
49. ค่าคงที่การอัดรีดขึ้นรูป (k) ของโลหะชนิดต่างๆ ที่อุณหภูมิต่างๆสืบค้าหา 29 กรกฎาคม 2564
ที่มา : https://citly.me/1x8vy
50. กระบวนการขึ้นรูปโลหะแผ่น สืบค้าหา 30 กรกฎาคม 2564
ที่มา : http://eng.sut.ac.th/me/2014/document/LabManuIndAuto/C.pdf
51. ช่องว่างระหว่างแม่พิมพ์และแรงดัด สืบค้าหา 30 กรกฎาคม 2564
ที่มา : http://www.repository.rmutt.ac.th/dspace/bitstream/123456789/2430/1/RMUTT-106574.pdf
52. การพับขึ้นรูป สืบค้าหา 30 กรกฎาคม 2564
ที่มา : https://shorturl.asia/MF2Rn
53. ส่วนประกอบของอุปกรณ์อัดรีดขึ้นรูปพลาสติก สืบค้าหา 3 สิงหาคม 2564
ที่มา : https://citly.me/9U0wG
54. ลักษณะแม่พิมพ์แบบต่างๆ สืบค้าหา 3 สิงหาคม 2564
ที่มา : https://citly.me/vYngr
55. กระบวนการผลิตเส้นใยแก้ว สืบค้าหา 3 สิงหาคม 2564
ที่มา : https://www.vetrotextextiles.com/technologies/fiberglass-manufacturing
56. กระบวนการผลิตเส้นใยคาร์บอนและเส้นยแกรไฟต์ สืบค้าหา 3 สิงหาคม 2564
ที่มา : https://slideplayer.com/slide/13758052/
57. ส่วนประกอบและการทำงานของวิธีการพรินต์ 3 มิติ สืบค้าหา 3 สิงหาคม 2564
ที่มา : https://www.custompartnet.com/wu/3d-printing
58. แรงในการตัดเฉือนเนื้อโลหะ สืบค้าหา 6 สิงหาคม 2564
ที่มา : https://citly.me/Yj0yX
59. ความสัมพันธ์ระหว่างความแข็งกับอุณหภูมิของวัสดุทำเครื่องมือชนิดต่างๆ สืบค้าหา  6 สิงหาคม 2564
ที่มา : https://citly.me/m2EG1
60. กราฟอายุการใช้งานชองเครื่องมือตัดที่ทำจากวัสดุชนิดต่างๆ สืบค้าหา16 สิงหาคม 2564
ที่มา : https://slideplayer.com/slide/14615752/
61.การกัดแต่งขึ้นรูปทรงกระบอกต่างๆ โดยการกลึง
ที่มา : https://mannancuet.wordpress.com/2016/04/17/lathe-machine-parts-operations/
62. ลักษณะการตัดเฉือนเนื้อโลหะขณะแทงขึ้นรูป สืบค้าหา 16 สิงหาคม 2564
ที่มา : https://mechanicalengineering.blog/broaching-operation/
63. ระบบเปลี่ยนเครื่องมืออัตโนมัติ สืบค้าหา 16 สิงหาคม 2564
ที่มา : https://machinetool.global.brother/pt-br/tc32bn/index.aspx
64. กระบวนการลับ สืบค้าหา 17 สิงหาคม 2564
ที่มา : https://citly.me/C1k36
65. ส่วนประกอบของการเชื่อมด้วยลวดเชื่อมหุ้มฟลักซ์ สืบค้าหา 20 สิงหาคม 2564
ที่มา : https://mechanicalengineering.blog/shielded-metal-arc-welding/
66. ส่วนประกอบและการทํางานของการเชื่อมอาร์กทั้งสเตนแก๊สคลุม สืบค้าหา 20 สิงหาคม 2564 ที่มา : http://www.halversoncts.com/71-the-gas-tungsten-arc-welding-station.html
67. การเชื่อมพลาสมา สืบค้าหา 20 สิงหาคม 2564
ที่มา : https://mechanicalengineering.blog/plasma-arc-welding-paw/
68. ชนิดของการเชื่อมแบบความต้านทานสืบ ค้าหา 21 สิงหาคม 2564
ที่มา : https://hmong.in.th/wiki/Electric_resistance_welding
69. ลักษณะของการเชื่อมแฟลช สืบค้าหา  21 สิงหาคม 2564
ที่มา : https://teknikmesinmanufaktur.blogspot.com/2015/05/apa-itu-flash-welding-fw.html
70. ลักษณะการทํางานของการเชื่อมอัลตราโซนิก สืบค้าหา 21 สิงหาคม 2564
ที่มา : http://coredailyscience.blogspot.com/2018/12/ultrasonic-welding.html?m=1
71. ชนิดและวิธีการแล่นประสานแบบต่างๆ สืบค้าหา 21 สิงหาคม 2564
ที่มา : https://www.wechillmart.com/blog/difference-between-brazing-and-soldering/
72. ลักษณะการแตกร้าวที่เกิดขึ้นกับแนวเชื่อมแบบต่างๆ สืบค้าหา 21 สิงหาคม 2564
ที่มา : https://talaytools.com/how-should-i-do-the-welding-work/
73. เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ติดตั้งบนตัวปฏิบัติการปลายสุดของหุ่นยนต์สืบค้าหา 24 สิงหาคม 2564
ที่มา : https://www.thaipng.com
74. ส่วนปรกอบของ AS/RS สืบค้าหา 24 สิงหาคม 2564
ที่มา : https://acetec.co.th/product/mini-load/
75. ออกแบบและวิเคราะห์ปัญหาทางวิศวกรรมโดยใช้ซอฟต์แวร์ CAD สืบค้าหา 24 สิงหาคม 2564
ที่มา : http://www.sigmasolutions.co.th/service.php
76. เส้นทางเดินเครื่องมือตัดที่สร้างขึ้นโดยโปรแกรม CAD/CAM สืบค้าหา 24 สิงหาคม 2564
ที่มา : https://www.cadalyst.com
77. ระบบ CAPP แบบการเรียกคืนสืบค้าหา 24 สิงหาคม 2564
ที่มา : https://www.ques10.com
เว็บไซด์ที่เกี่ยวข้องในแต่ละหัวข้อ
แบบประเมินอาจารย์ผู้สอนและแบบประเมินนักศึกษา
การสังเกตจากการเรียนการสอน ผลการสอบ
นำผลการเรียน นศ มาประเมินเพิ่มปรับปรุงการสอน
๑ การประเมินผลการเรียนของนักศึกษาโดยออกระดับผลการเรียนให้กับนักศึกษาตามเกณฑ์ที่กำหนดไว้ ๒ รายงานผลการเรียนต่อฝ่ายทะเบียนและวัดผล
ปรับปรุงแนวการสอนจากผลการเมินของนักศึกษาทุกๆ ปี