ชีวเคมีทางการเกษตร
Agricultural Biochemistry
1. ศึกษาและปฏิบัติการเกี่ยวกับเซลล์ และองค์ประกอบของเซลล์
2. ศึกษาและปฏิบัติการเกี่ยวกับเอนไซม์
3. ศึกษาและปฏิบัติการเกี่ยวกับโครงสร้างและสมบัติของสารชีวโมเลกุล
4. ศึกษาและปฏิบัติการเกี่ยวกับเมทาโบลิซึมของ คาร์โบไฮเดรต ไขมัน โปรตีนและกรดนิวคลีอิก
5. ศึกษาและปฏิบัติการเกี่ยวกับการถ่ายทอดข้อความทางพันธุกรรม
6. ศึกษาและปฏิบัติการเกี่ยวกับฮอร์โมนที่ควบคุมเมทาโบลิซึมในสิ่งมีชีวิต
7. มีเจตคติที่ดีต่อการศึกษาวิชาชีวเคมีทางการเกษตร
8. ประยุกต์ความรู้ไปใช้ได้อย่างเหมาะสม
1. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐานทางด้านชีวเคมีทางการเกษตร เป็นการเตรียมพื้นฐานการเรียนในวิชาอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง โดยมีการเปลี่ยนแปลง ตัวอย่างอ้างอิงให้สอดคล้องกับแนวโน้มด้านเทคโนโลยีที่ได้มีความก้าวหน้าไปตามยุคสมัย
2. เพื่อปรับกระบวนการรายวิชาให้สอดคล้องกับคุณสมบัติบัณฑิตนักปฏิบัติอันพึงประสงค์ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
ศึกษาและปฏิบัติการเกี่ยวกับเซลล์ และองค์ประกอบของเซลล์ เอนไซม์ โครงสร้างและสมบัติของสารชีวโมเลกุล เมทาโบลิซึมของ คาร์โบไฮเดรต ไขมัน โปรตีนและกรดนิวคลีอิก การถ่ายทอดข้อความทางพันธุกรรม ฮอร์โมนที่ควบคุมเมทาโบลิซึมในสิ่งมีชีวิต
3
มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
1. บรรยายพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษา
2. ให้ความสำคัญในวินัย การตรงต่อเวลา การส่งงานในเวลาที่กำหนด
3. กำหนดข้อตกลงร่วมกันในการวัดผลระหว่างผู้เรียนและผู้สอน
1. ประเมินจากความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
2. ประเมินจากการตรงเวลาของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที่มอบหมายและการร่วมกิจกรรม
มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฏีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา แก้ไข
1. บรรยายและปฏิบัติให้ครอบคลุมเนื้อหาตามคำอธิบายรายวิชา
2. มอบหมายให้ค้นหาข้อมูลเพิ่มเติม หรือศึกษาด้วยตนเอง
3.กำหนดหัวข้อทางวิชาการให้กับนักศึกษาในการค้นคว้าความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีใหม่ๆ
1. ทดสอบย่อย
2. สอบกลางภาค สอบปลายภาค
3. ประเมินจากรายงาน หรืองานที่มอบหมาย
1. มีทักษะในการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
2. ทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
1. ยกตัวอย่างที่เหมาะสมในระหว่างการบรรยาย
2. มอบหมายงานให้นักศึกษา ทำแบบฝึกหัด และนำเสนองานหน้าชั้นเรียน
1. ทดสอบย่อย
2. ประเมินจากการนำเสนองาน
สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
1. มอบหมายงานรายกลุ่ม หรือแบบฝึกหัดให้ทำเป็นกลุ่ม
2. ให้นำเสนองาน แบบฝึกหัด โดยกำหนดความรับผิดชอบของนักศึกษาแต่ละคน
1. ประเมินจากความรับผิดชอบงานกลุ่ม
2. ประเมินจากการนำเสนองาน
1. สืบค้น ศึกษา วิเคราะห์และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
2. สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1. ใช้ Power point มีการนำเสนอข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต การแนะนำเทคนิคการสืบค้นข้อมูล
2. มอบหมายงานด้วยการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
ประเมินจากผลงาน และการนำเสนอผลงาน
-
-
-
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา | 1.ด้านคุณธรรม จริยธรรม | 2.ด้านความรู้ | 3.ทักษะทางปัญญา | 4.ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ | 5.ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขการสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ | ||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ลำดับ | รหัสวิชา | ชื่อวิชา | 1 | 2 | 1 | 2 | 1 | 2 | 3 | 1 | 2 | 1 | 2 |
1 | FUNSC208 | ชีวเคมีทางการเกษตร |
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล |
---|---|---|---|---|
1 | 1.3, 2.1, 3.1 และ 3.2 | สอบกลางภาค และปลายภาค | 9 และ 17 | ร้อยละ 40 |
2 | 4.3 และ 5.2 | ประเมินจากรายงานหรืองานที่มอบหมาย ประเมินจากแบบฝึกหัด และผลการทดลองในแต่ละบทปฏิบัติการ ประเมินจากความรับผิดชอบงานกลุ่ม ประเมินจากการนำเสนองาน | ตลอดภาคการศึกษา | ร้อยละ 50 |
3 | 1.3 และ 4.3 | การให้คะแนนการเข้าชั้นเรียน และการส่งงานตรงเวลา การสังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาในการเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่ม | ตลอดภาคการศึกษา | ร้อยละ 10 |
1. เกษม พลายแก้ว. (2553). เคมีทั่วไป 1 (พิมพ์ครั้งที่ 1). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
2. เปรมใจ อารีจิตรานุสรณ์ พัชรี บุญศิริ ปีติ ธุวจิตต์ เสาวนันท์ บำเรอราช (2548). ตำราชีวเคมี (พิมพ์ครั้งที่ 4). ขอนแก่น: หจก.โรงพิมพ์คลังนานาวิทยา.
3. เวียง เชื้อโพธิ์หัก. (2543). โภชนศาสตร์สัตว์น้ำและการให้อาหารสัตว์น้ำ (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ:สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
4. ดาวัลย์ ฉิมภู่. (2555). ชีวเคมี (พิมพ์ครั้งที่ 5). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
5. นิธิยา รัตนาปนนท์. (2557). เคมีอาหาร. (พิมพ์ครั้งที่ 5). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์.
6. นิธิยา รัตนาปนนท์, และวิบูลย์ รัตนาปนนท์ (2556). หลักโภชนศาสตร์ (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ:สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์.
7. รัชฎา แก่นสาร์. (2544). ชีวเคมี (พิมพ์ครั้งที่2). กรุงเทพฯ: สถาบันพระบรมราชชนก โครงการสวัสดิการวิชาการสถาบันพระบรมราชชนก
8. รานี สุวรรณพฤกษ์. (2557). เคมีทั่วไป เล่ม 2 (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: บริษัทพิมพ์ดีการพิมพ์ จำกัด.
9. อุทัย คันโธ. (2559). อาหารสุกรและสัตว์ปีกเชิงประยุกต์. (เรียบเรียงครั้งที่ 1) นครปฐม: ศูนย์วิจัยและฝึกอบรมการเลี้ยงสุกรแห่งชาติ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กำแพงแสน
10. Ausubel, F. A., Brent, R., Kingston, R. E., Moore, D. D., Seidman, J. G., Smith, J. A., & Struhl, K. (eds.) (2001). Current Protocols in Molecular Biology. NK. USA: Greene Publishing & Wiley-Interscience.
11. Baldwin, E. & Bell, D. J., (1955). Cole's Practical Physiological Chemistry. London, UK: Heffer.
12. Ball, D. W. (2003). Physical chemistry. CA, USA: Brooks/Cole-Thomson Learning Inc.
13. Barrett, K., Brooks, H., Boitano, S., & Barman, S. (2010). Ganong’s review of medical physiology (23th ed.). New York, USA
14. Campbell, K. M. & Farrell, S.O. (2015). Biochemistry (8th ed.). Stamford, CT USA: Cengage learning.
15. Chang, R. (2012). Chemistry (10th ed.). New York, USA: McGraw-Hill Companies, Inc.
16. Evans, D. H., & Claiborne, J. B., (1998). The physiology of fishes (2nd ed.). Marine science series. FL, USA: CRC Press.
17. Garrett, R. H., Grisham, C. M. (2002). Principles of biochemistry with a human focus (1st ed.). CA, USA: Brooks/Cole, Cengage Learning.
18. Garrett, R.H., Grisham, C. M. (2013). Biochemistry (4th ed.). CA, USA: Brooks/Cole, Cengage Learning.
19. Harper, C. R., & Jacobson, T. A. (1999). New perspectives on the management of low levels of high-density lipoprotein cholesterol. Arch Intern Med, 159(10), pp. 1049-1057.
20. Koolman, J., & Roehm, K. H. (2005). Color Atlas of Biochemistry (7th ed.). NY, USA: Thieme.
21. McMurry, J. E., & Fay, R. C. (2012). Chemistry. (6th ed.). NJ, USA: Pearson Education, Inc.
22. Nelson. D. L. & Cox, M. M. (2008). Lehninger principles of biochemistry (5th ed.). NY, USA: W.H. freeman and company.
23. Reece, J. B., Urry, L. A., Cain, M. L., Wasserman, S. A., Minorsky, P. V., & Jackson, R. B. (2011). Campbell Biology (9th ed.). CA, USA: The Benjamin Cumming Publishing Company, Inc.
23. Rodwell, V. W., Bender, D. A., Botham, K. M., Kennelly, P. J., & Weil, P. A. (2018). Harper's Illustrated Biochemistry (31st ed.). NY, USA: McGraw-Hill Publishing Company.
24. Solomon, E. P., Berg. L. R., & Martin, D. W. (2008). Biochemistry (8th ed.). CA, USA: Thomson Brooks/Cole.
25. Voet, D., Voet, J. G. & Pratt, C. (2013). Principles of Biochemistry (4th ed.). Hoboken, Singapore: John Wiley & Sons. Inc. Singapore Pte. Ltd.
2. เปรมใจ อารีจิตรานุสรณ์ พัชรี บุญศิริ ปีติ ธุวจิตต์ เสาวนันท์ บำเรอราช (2548). ตำราชีวเคมี (พิมพ์ครั้งที่ 4). ขอนแก่น: หจก.โรงพิมพ์คลังนานาวิทยา.
3. เวียง เชื้อโพธิ์หัก. (2543). โภชนศาสตร์สัตว์น้ำและการให้อาหารสัตว์น้ำ (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ:สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
4. ดาวัลย์ ฉิมภู่. (2555). ชีวเคมี (พิมพ์ครั้งที่ 5). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
5. นิธิยา รัตนาปนนท์. (2557). เคมีอาหาร. (พิมพ์ครั้งที่ 5). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์.
6. นิธิยา รัตนาปนนท์, และวิบูลย์ รัตนาปนนท์ (2556). หลักโภชนศาสตร์ (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ:สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์.
7. รัชฎา แก่นสาร์. (2544). ชีวเคมี (พิมพ์ครั้งที่2). กรุงเทพฯ: สถาบันพระบรมราชชนก โครงการสวัสดิการวิชาการสถาบันพระบรมราชชนก
8. รานี สุวรรณพฤกษ์. (2557). เคมีทั่วไป เล่ม 2 (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: บริษัทพิมพ์ดีการพิมพ์ จำกัด.
9. อุทัย คันโธ. (2559). อาหารสุกรและสัตว์ปีกเชิงประยุกต์. (เรียบเรียงครั้งที่ 1) นครปฐม: ศูนย์วิจัยและฝึกอบรมการเลี้ยงสุกรแห่งชาติ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กำแพงแสน
10. Ausubel, F. A., Brent, R., Kingston, R. E., Moore, D. D., Seidman, J. G., Smith, J. A., & Struhl, K. (eds.) (2001). Current Protocols in Molecular Biology. NK. USA: Greene Publishing & Wiley-Interscience.
11. Baldwin, E. & Bell, D. J., (1955). Cole's Practical Physiological Chemistry. London, UK: Heffer.
12. Ball, D. W. (2003). Physical chemistry. CA, USA: Brooks/Cole-Thomson Learning Inc.
13. Barrett, K., Brooks, H., Boitano, S., & Barman, S. (2010). Ganong’s review of medical physiology (23th ed.). New York, USA
14. Campbell, K. M. & Farrell, S.O. (2015). Biochemistry (8th ed.). Stamford, CT USA: Cengage learning.
15. Chang, R. (2012). Chemistry (10th ed.). New York, USA: McGraw-Hill Companies, Inc.
16. Evans, D. H., & Claiborne, J. B., (1998). The physiology of fishes (2nd ed.). Marine science series. FL, USA: CRC Press.
17. Garrett, R. H., Grisham, C. M. (2002). Principles of biochemistry with a human focus (1st ed.). CA, USA: Brooks/Cole, Cengage Learning.
18. Garrett, R.H., Grisham, C. M. (2013). Biochemistry (4th ed.). CA, USA: Brooks/Cole, Cengage Learning.
19. Harper, C. R., & Jacobson, T. A. (1999). New perspectives on the management of low levels of high-density lipoprotein cholesterol. Arch Intern Med, 159(10), pp. 1049-1057.
20. Koolman, J., & Roehm, K. H. (2005). Color Atlas of Biochemistry (7th ed.). NY, USA: Thieme.
21. McMurry, J. E., & Fay, R. C. (2012). Chemistry. (6th ed.). NJ, USA: Pearson Education, Inc.
22. Nelson. D. L. & Cox, M. M. (2008). Lehninger principles of biochemistry (5th ed.). NY, USA: W.H. freeman and company.
23. Reece, J. B., Urry, L. A., Cain, M. L., Wasserman, S. A., Minorsky, P. V., & Jackson, R. B. (2011). Campbell Biology (9th ed.). CA, USA: The Benjamin Cumming Publishing Company, Inc.
23. Rodwell, V. W., Bender, D. A., Botham, K. M., Kennelly, P. J., & Weil, P. A. (2018). Harper's Illustrated Biochemistry (31st ed.). NY, USA: McGraw-Hill Publishing Company.
24. Solomon, E. P., Berg. L. R., & Martin, D. W. (2008). Biochemistry (8th ed.). CA, USA: Thomson Brooks/Cole.
25. Voet, D., Voet, J. G. & Pratt, C. (2013). Principles of Biochemistry (4th ed.). Hoboken, Singapore: John Wiley & Sons. Inc. Singapore Pte. Ltd.
สำนักโภชนาการ กรมอนามัย (2557). สืบค้น 1 มีนาคม 2561, จาก http://nutrition.anamai. moph.go.th/images/files/sugarfruit.pdf
1. ทนงศักดิ์ สัสดีแพง, ธนากร คำภิระ, วชิร ยอดทอง, และวิทยา วนาภิชิต. (2560). องค์ประกอบสารต้านแบคทีเรียและสารต้านอนุมูลอิสระของกระเม็ง. การประชุมวิชาการวิจัยและนวัตกรรมสร้างสรรค์ครั้งที่ 4 (4th CRCI 2017) และการประชุมสัมมนาวิชาการระดับนานาชาติด้านพลังงานไฟฟ้าแรงสูง พลาสมาและไมโครนาโนบับเบิล สำหรับเกษตรและการประมงขั้นสูง ครั้งที่ 2 (2nd ISHPMNB) (น. 664-671) เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา.
2. วชิร ยอดทอง, วรัญญา ธาราเวชรักษ์, ศุภินันท์ จันมา, และทนงศักดิ์ สัสดีแพง. (2561). สมบัติต้านอนุมูลอิสระ ต้านแบคทีเรียและองค์ประกอบทางเคมีของสารสกัดตีนตุ๊กแก. การประชุมวิชาการวิจัยและนวัตกรรมสร้างสรรค์ครั้งที่ 5 (5th CRCI 2018) (น. 186-194). ตาก: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ตาก.
2. วชิร ยอดทอง, วรัญญา ธาราเวชรักษ์, ศุภินันท์ จันมา, และทนงศักดิ์ สัสดีแพง. (2561). สมบัติต้านอนุมูลอิสระ ต้านแบคทีเรียและองค์ประกอบทางเคมีของสารสกัดตีนตุ๊กแก. การประชุมวิชาการวิจัยและนวัตกรรมสร้างสรรค์ครั้งที่ 5 (5th CRCI 2018) (น. 186-194). ตาก: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ตาก.
1.1 ผลการประเมินผู้สอนออนไลน์
1.2 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
2.1 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.2 ติดตามงานที่มอบหมาย
2.3 การสังเกตการณ์สอนของผู้สอน
3.1 ปรับปรุงการเรียนการสอนจากผลการประเมินของนักศึกษา
3.2 จัดทำและพัฒนาเอกสารประกอบการสอน แก้ไข
4.1 มีการให้ข้อมูลย้อนกลับแก่นักศึกษา เพื่อนำไปพัฒนาการเรียนรู้
4.2 มีการบันทึกหลังการสอน
นำผลที่ได้จากการประเมินของนักศึกษา คะแนนสอบ นำมาสรุปผล และพัฒนารายวิชาในภาคการศึกษาต่อไป