ระบบสมองกลฝังตัวและอินเทอร์เน็ตในทุกสรรพสิ่ง

Embedded Systems and Internet of Everything

เพื่อให้นักศึกษาเกิดการเรียนรู้/มีความสามารถ/สมรรถนะที่ต้องการด้านต่าง ๆ
1.1 เพื่อทำความเข้าใจพื้นฐานสถาปัตยกรรมของ IoT และระบบฝังตัว รวมถึงการออกแบบขั้นพื้นฐาน
1.2 เพื่อพัฒนาแนวทางในการสร้างระบบ IoT แบบฝังขนาดเล็กราคาประหยัด
1.3 เพื่อทำความเข้าใจพื้นฐานของความปลอดภัยใน IoT
1.4 เพื่อเรียนรู้การใช้โครงสร้างพื้นฐานที่ปลอดภัยสำหรับ IoT
1.5 เพื่อเรียนรู้สถานการณ์การใช้งาน IoT ในโลกแห่งความเป็นจริง พร้อมกับผลกระทบทางสังคมและเศรษฐกิจโดยใช้กรณีศึกษา
1.5 เพื่อศึกษาการ Cloud Server
1.6 เพื่อเรียนรุ้ M2M
เพื่อให้นักศึกษาสามารถเข้าใจหลักการทํางานของระบบอินเทอร์เน็ตของทุกสรรพสิ่งและะบบฝังตัว ตั้งแต่ สถาปัตยกรรมโปรโตคอล การจัดเก็บข้อมูล มาตรฐานและระบบรักษาความปลอดภัย โดยสามารถพัฒนาเครื่องใช้ไฟฟ้า IoT ขึ้นเองได้
ศึกษาการปฎิบัติเกียวกับ สถาปัตยกรรมของระบบฝงตัว หลักการทำงานขแงระบบ ระบบปฎิบัติการของระบบฝังตัว การออกแบบระบบฝัง
ตัวและโปรแกรมการทำงานร่วมกันระหว่างระบบฝังตัวและระบบอื่นที่ถูกเชื่อมต่อ การสื่อสารระหว่างระบบ การประหยัดพลังงาน ความปลอดภัย เสถียรภาพ นำสู่ระบบินเทอร์เน็ตทุกสรรพสิ่ง ศึกษาการประยุกต์งานทางด้าน RFID , Wireless, Sensor และเครือข่ายไร้สาย (Wireless sensor network) เตรือข่ายอินเทอร์เน็ต ระบบเครือข่ายแบบก้อนเมฆ (Cloud) เทคโนโลยีการสื่อสารระหว่างอุปกรณ์ (M2M) โดยผ่านโปรโตคอลสื่อสารและการทำวานร่วมกันตามมาตรฐาน และการรักษาความปลอดภัย IoT
อาจารย์ประจํารายวิชา ประกาศเวลาให้คําปรึกษาแก่นักศึกษา อาจารย์จัดเวลาให้คําปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือ รายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
1.1.1 พัฒนาผู็เรียนให้มีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรยาบรรณในวิชาชีพ
1.1.2 เคารพในบทบาท หน้าที่และความรับผิดชอบของผู้ทําหน้าที่ออกแบบ และผู้ที่เกี่ยวข้อง
1.1.3 มีภาวะความเป็นผู้นําและผู้ตามในการ ทํางานเป็นทีม
1.1.4 เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของ ผู้อื่น
1.1.5 เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม
1.1.6 สามารถวิเคราะห์ผลกระทบจากการใช้ คอมพิวเตอร์ต่อบุคคล องค์กร และสังคม
1.2.1  การมอบหมายงานให้นักศึกษาทํางานเดี่ยวและงานกลุ่ม เพื่อนักศึกษาจะได้เรียนรู้การวางแผนการทํางาน การแลกเปลยี่นความคดิเห็น มีการค้นคว้าข้อมูล และมีความสามัคคี  1.2.2 สอดแทรกเรื่องราวต่างๆ เกี่ยวกับ การมีจรยิธรรมจิตสาธารณ การมีส่วนร่วมต่อสังคม การช่วยเหลือสังคม การมีสัมมาคารวะ เพื่อปลูกฝัง ให้นักศึกษามีความรับผิดชอบ และมีน้ําใจช่วยเหลือผู้อื่น
ประเมินจากการเปลี่ยนแปลง พฤติกรรมในการมีส่วนร่วมใน การทํางานกลุ่ม การตรงต่อ เวลาในการเข้าชั้นเรียน และส่ง งานตามที่ไดร้ับมอบหมาย รวมทั้งสังเกต ลักษณะการ พูดจา
2.1.1 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการ และทฤษฎีท่ีสําคัญในเนื้อหา IoT
2.1.2 สามารถวิเคราะห์ปัญหา และอธิบายความต้องการทางคอมพิวเตอร์ รวมทั้งประยุกต์ ความรู้ ทักษะ และการใช้เครื่องมือที่เหมาะสม กับการแก้ไขปัญหา
2.1.3 สามารถวิเคราะห์ออกแบบพัฒนา บํารุงรักษา และ/หรือ ประเมินระบบ คอมพิวเตอร์ให้ตรงตามข้อกําหนด
2.1.4 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการ และวิวัฒนาการคอมพิวเตอร์เพื่อการนําไป ประยุกต์
2.1.5 รู้เข้าใจและสนใจพัฒนาความรู้ ความ ชํานาญทางคอมพิวเตอร์อย่างต่อเนื่อง
2.1.6 มีประสบการณ์ในการพัฒนาและ/หรือ การประยุกต์ซอฟต์แวร์และฮาร์ดแวร์ที่ใช้งานได้จริง
2.1.7 สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์กับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
2.2.1 บรรยายจากเอกสารประกอบการสอน
2.2.2 ให้นิสิตเรียนรู้ เขียนโปรแกรม
2.2.3 ทดลองจากฮาร์ดแวร์จริง
2.2.4 ให้นักศึกษาทําแบบฝึกหัดในห้องเรียน และนอกห้องเรียน
2.2.5 ให้นักศึกษาค้นคว้าหาข้อมูลเพิ่มเติม จากอินเตอร์เน็ต
2.2.6 อภิปรายหลักการทํางานของ คอมพิวเตอร์ขนาดเล็ก ทั้งในประเด็น ฮารด์แวร์และซอฟต์แวร์รวมถึง อุปกรณ์เชื่อมต่อ พื้นฐานท้ังแบบ อินพุทและเอาท์พุท
ทดสอบย่อย สอบกลางภาค และสอบปลายภาค วิเคราะห์จากแบบฝึกหัด วิเคราะหจ์ากรายงานและการ อภิปรายหน้าช้ันเรียน
3.1.1 สามารถคิดอย่างมีวิจารณญาณและอย่าง เป็นระบบ
3.1.2 สามารถสืบค้น ตีความ และประเมินสารสนเทศ เพื่อใช้ในการแก้ไขปัญหาอย่างสร้างสรรค์
3.1.3 สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และ สรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ
3.1.4 สามารถประยุกต์ความรู้และทักษะกับการ แก้ไขปัญหาทางคอมพิวเตอร์ได้อย่างเหมาะสม
3.2.1 ให้นักศึกษาฝึกแปลงสัญญาณทางไฟฟ้า ให้เป็นข้อมูลทางตัวเลขในลักษณะ เลขฐานสอง ฐานสิบและฐานสิบหก 
3.2.2 ให้โจทย์การวิเคราะห์ประเด็นการ เขียนโปรแกรมควบคมุการ ประมวลผลของระบบควบคมุ อัตโนมัติโดยหน่วยอินพุททําหนา้ท่ี รับอินพุทเป็นสัญญาณไฟฟ้า แปลง สัญญาณไฟฟ้าเป็น เลขฐาน 2 จากน้ัน จะส่งต่อไปยังหน่วย ประมวลผลทําหน้าที่ประมวลผล ข้อมูลตัวเลขฐานสองให้เอาท์พุท ออกมาเป็นตัวเลข ส่งต่อให้ หน่วย เอาท์พุทก็จะแปลงตัวเลขเป็น สัญญาณไฟฟ้า
ทดสอบย่อย สอบกลางภาค และปลายภาค โดยใช้โจทย์ ประเภทวิเคราะห์
4.1.1 สามารถสื่อสารกับกลุ่มคนหลากหลายโดย ใช้ภาษาไทยได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.1.2 สามารถให้ความช่วยเหลือและอํานวย ความสะดวกแก่การแก้ปัญหาสถานการณ์ต่าง ๆ ในกลุ่มทั้งในบทบาทของผู้นํา หรือในบทบาท ของผู้ร่วมทีมทํางาน
4.1.3 สามารถใช้ความรู้ด้านวิทยาการ คอมพิวเตอร์มาชี้นําสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
4.1.4 มีความรับผิดชอบในการกระทําของ ตนเองและรับผิดชอบงานในกลุ่ม
4.1.5 สามารถเป็นผู้ริเริ่มแสดงประเด็นในการแก้ไขสถานการณ์ทั้งส่วนตัวและส่วนรวม พร้อม ทั้งแสดงจุดยืนอย่างพอเหมาะทั้งของตนเองและ ของกลุ่ม
4.1.6 มีความรับผิดชอบการพัฒนาการเรียนรู้ทั้ง ของตนเองและทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
ให้นักศึกษาทําศึกษาค้นคว้าในรูปแบบ ของงานกลุ่ม นําเสนอในรูปของ รายงาน การเขียนโปรแกรม และ ทดสอบในฮาร์ดแวรจ์ริง
ประเมินความก้าวหน้าของงาน ประเมินผลสัมฤทธ์ิของงาน จากการอภิปราย นําเสนอ และ การทํางานของฮาร์ดแวร์จริง
5.1.1 มีทักษะในการใช้เครื่องมือที่จําเป็นท่ีมีอยู่ในปัจจุบันในการทํางานท่ีเก่ียวกับคอมพิวเตอร์
5.1.2 สามารถแนะนําประเด็นการแก้ไขปัญหา โดยใช้สารสนเทศทางคณิตศาสตร์หรือ การแสดงสถิติประยุกต์ต่อปัญหาที่เกี่ยวข้อง อย่างสร้างสรรค์
5.1.3 สามารถสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพทั้ง การพูดและการเขียน เลือกใช้รูปแบบของ สื่อการนําเสนออย่างเหมาะสม
5.1.4 สามารถใช้สารสนเทศและเทคโนโลยีสื่อสารได้อย่างเหมาะสม
5.2.1 สอนเนื้อหาทฤษฎีเชิงปฏิบัติ โดย การให้โจทย์ให้ฝึกคิด 
5.2.2 มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าดว้ย ตนเอง นําเสนอในรูปของรายงาน และทดลองในฮารด์แวร์จริง
ประเมินจากการทําโจทย์ใน ห้องเรียน ประเมินผลจากรายงานการ นําเสนอ และการทํางานของ ฮาร์ดแวร์จริง
เน้นไปที่การสร้างทักษะการปฏิบัติงานทางวงจรดิจิทัล ดังข้อต่อไปนี้ 
6.1.1 มีทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์และวิธีการได้อย่างมี ประสิทธิภาพ
ฝึกปฏิบัติการทดลอง
สังเกตขั้นตอนปฏิบัติงานและความเชี่ยวชาญในการออกแบบและทดลองใบงาน ระบบสมองกลฝังตัวและอินเทอร์เน็ตในทุกสรรพสิ่ง
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1 คุณธรรม จริยธรรม 2 ความรู้ 3 ทักษะทางปัญญา 4 ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลเเละความรับผิดชอบ 5 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6 ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 5 6 7 1 2 3 4 5 6 7 8 2 3 4 1 1 2 3 4 5 6 1 2 3 4 1 2
1 ENGCE123 ระบบสมองกลฝังตัวและอินเทอร์เน็ตในทุกสรรพสิ่ง
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1,1.6,1.7,2.1,2.4-2.6,3.2 ทดสอบย่อยครั้งที่ 1,สอบกลางภาค,ทดสอบย่อยครั้งที่ 2,สอบปลายภาค 4,9,12,17 10%,25%,10%,25% แก้ไข ลบ 2 1.1,1.6,1.7,2.1,2.4-2.6,3.2,4.1-4.6,5.3-5.4 4,9,12,17 10%,25%,10%,25%
2 1.1,1.6,1.7,2.1,2.4-2.6,3.2,4.1-4.6,5.3-5.4 วิเคราห์กรณีศึกษาค้นคว้า การนำเสนอ,รายงาน,การทำงานกลุ่มและผลงาน,การอ่านและสรุปความ ตลอดภาคการศึกษา 20%
3 1.1-1.7,3.1 การส่งงานตามที่มอบหมาย,การเข้าชั้นเรียน,การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
1.Adrian McEwen and Hakim Cassimally, ―Designing the Internet of Things‖, John Wiley and Sons Ltd, UK, 2014.
2.Vijay Madisetti, Arshdeep Bahga, ―Internet of Things (A Hands-on Approach), Universities Press, 2015.
3.Dieter Uckelmann, Mark Harrison, Florian Michahelles, ―Architecting the Internet of Things‖, Springer, New York, 2011.
4.John H. Davies, ―MSP430 Microcontroller Basics‖, First Edition, Newnes Publication. 2010.
เว็บไซต์ที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อในประมวลรายวิชา
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน 
1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา 
1.3 การสะท้อนความคิด จากพฤติกรรมของผู้เรียน
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
2.1 ผลการเรียนของนักศึกษา 
2.2 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้ 
2.3 การสังเกตการณ์สอน ของผู้สอน
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน 
3.2 การวิจัยนอกชั้นเรียน
นระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหา  ที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ