วงจรอิเล็กทรอนิกส์ทางการแพทย์
Medical Electronic Circuits
1) นักศึกษามีความเข้าใจพื้นฐานฟิสิกส์ชองสารกึ่งตัวนำ การทำงานของไดโอด ซีเนอร์ไดโอด การออกแบบวงจรโดยใช้ไดโอดและการประยุกต์ใช้งานไดโอดในวงจรอิเล็กทรอนิกส์ทางการแพทย์แบบต่างๆ
2) นักศึกษามีความเข้าใจการทำงานของทรานซิสเตอร์/เฟต การออกแบบวงจรโดยใช้ทรานซิสเตอร์/เฟต และการประยุกต์ใช้งานทรานซิสเตอร์/เฟต ในวงจรอิเล็กทรอนิกส์ทางการแพทย์แบบต่างๆ
3) นักศึกษามีความเข้าใจการทำงานของวงจร RLC การออกแบบวงจรโดยใช้ RLC ดและ และการประยุกต์ใช้งาน RLC ในวงจรอิเล็กทรอนิกส์ทางการแพทย์แบบต่างๆ
4) นักศึกษามีความเข้าใจการทำงานของออปแอมป์ การออกแบบวงจรโดยใช้ออปแอมป์ และ และการประยุกต์ใช้งานออปแอมป์ ในวงจรอิเล็กทรอนิกส์ทางการแพทย์แบบต่างๆ
5) นักศึกษามีความเข้าใจการทำงานของอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์กำลัง/ไทริสเตอร์ การออกแบบวงจรโดยใช้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์กำลัง/ไทริสเตอร์ และการประยุกต์ใช้งานอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์กำลัง/ไทริสเตอร์ ในวงจรแบบต่างๆ
2) นักศึกษามีความเข้าใจการทำงานของทรานซิสเตอร์/เฟต การออกแบบวงจรโดยใช้ทรานซิสเตอร์/เฟต และการประยุกต์ใช้งานทรานซิสเตอร์/เฟต ในวงจรอิเล็กทรอนิกส์ทางการแพทย์แบบต่างๆ
3) นักศึกษามีความเข้าใจการทำงานของวงจร RLC การออกแบบวงจรโดยใช้ RLC ดและ และการประยุกต์ใช้งาน RLC ในวงจรอิเล็กทรอนิกส์ทางการแพทย์แบบต่างๆ
4) นักศึกษามีความเข้าใจการทำงานของออปแอมป์ การออกแบบวงจรโดยใช้ออปแอมป์ และ และการประยุกต์ใช้งานออปแอมป์ ในวงจรอิเล็กทรอนิกส์ทางการแพทย์แบบต่างๆ
5) นักศึกษามีความเข้าใจการทำงานของอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์กำลัง/ไทริสเตอร์ การออกแบบวงจรโดยใช้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์กำลัง/ไทริสเตอร์ และการประยุกต์ใช้งานอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์กำลัง/ไทริสเตอร์ ในวงจรแบบต่างๆ
1. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้และทักษะในการคิดวิเคราะห์ในการใช้งานวงจรอิเล็กทรอนิกส์ทางการแพทย์ได้
2. เพื่อให้นักศึกษาสามารถนำความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้การแก้ปัญหาในการตรวจซ่อม บำรุงรักษา เครื่องมืออิเล็กทรอนิกส์ทางการแพทย์ได้
3. เพื่อให้นักศึกษาสามารถนำความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้ในรายวิชาชีพเฉพาะ รายวิชาชีพบังคับ และรายวิชาชีพเลือกได้ต่อไป
2. เพื่อให้นักศึกษาสามารถนำความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้การแก้ปัญหาในการตรวจซ่อม บำรุงรักษา เครื่องมืออิเล็กทรอนิกส์ทางการแพทย์ได้
3. เพื่อให้นักศึกษาสามารถนำความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้ในรายวิชาชีพเฉพาะ รายวิชาชีพบังคับ และรายวิชาชีพเลือกได้ต่อไป
ทฤษฎีและปฏิบัติการเกี่ยวกับฟิสิกส์ชองสารกึ่งตัวนำ การทำงานของไดโอด ชีเนอร์ไดโอด ทรานซิสเตอร์และเฟต การไบแอสทรานซิสเตอร์และเฟต การออกแบบวงจรขยายแบบต่างๆ โดยใช้ทรานซิสเตอร์และเฟต วงจร RLC วงจรขยายแบบป้อนกลับ สมบัติของออปแอมป์ การประยุกต์ใช้งานออปแอมป์ วงจรกรองความถี่ วงจรเปรียบเทียบ วงจรขยายสัญญาณ อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์กำลัง และไทริสเตอร์
อาจารย์ประจำรายวิชาจัดเวลาให้นักศึกษาพบเป็นรายบุคคล/รายกลุ่ม ในกรณีที่นักศึกษาต้องการปรึกษาสัปดาห์ละ 2 ชั่วโมง โดยระบุเวลาที่อาจารย์อยู่ประจำห้องทำงาน (Office hour) ในตารางการปฏิบัติงานที่ติดหน้าห้องทำงานของอาจารย์
นักศึกษาจองวันเวลาล่วงหน้า หรือมาพบตามเวลาที่นัดหมาย
1.1.1 เข้าใจและซาบซึ้งในวัฒนธรรมไทย ตระหนักในคุณค่าของระบบคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต
1.1.2 มีวินัย ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ ขององค์กรและสังคม
1.1.3 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นหมู่คณะ สามารถแก้ไขข้อขัดแย้งตามลำดับความสำคัญเคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1.1.4 สามารถวิเคราะห์และประเมินผลกระทบจากการใช้ความรู้ทางวิศวกรรมต่อบุคคล องค์กร สังคมและสิ่งแวดล้อม
1.1.5 มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพและมีความรับผิดชอบในฐานะผู้ประกอบวิชาชีพ รวมถึงเข้าใจถึงบริบททางสังคมของวิชาชีพวิศวกรรมในแต่ละสาขา ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน
กำหนดให้มีวัฒนธรรมองค์กร เพื่อเป็นการปลูกฝังให้นักศึกษามีระเบียบวินัย โดยเน้นการเข้าชั้นเรียนให้ตรงเวลาตลอดจนการแต่งกายที่เป็นไปตามระเบียบของมหาวิทยาลัย นักศึกษาต้องมีความรับผิดชอบโดยในการทำงานกลุ่มนั้นต้องฝึกให้รู้หน้าที่ของการเป็นผู้นำกลุ่มและการเป็นสมาชิกกลุ่ม มีความซื่อสัตย์โดยต้องไม่กระทำการทุจริตในการสอบหรือลอกการบ้านของผู้อื่น เป็นต้น นอกจากนี้อาจารย์ผู้สอนทุกคนต้องสอดแทรกเรื่องคุณธรรม จริยธรรมในการสอนทุกรายวิชา รวมทั้งมีการจัดกิจกรรมส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม เช่น การยกย่องนักศึกษาที่ทำดี ทำประโยชน์แก่ส่วนรวม เสียสละ
1.3.1 ประเมินจากการตรงเวลาของนักศึกษาในภาพเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที่มอบหมายและการร่วมกิจกรรม
1.3.2 ประเมินจากการมีวินัยและพร้อมเพรียงของนักศึกษาในการเข้าร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตร
1.3.3 ปริมาณการกระทำทุจริตในการสอบ
1.3.4 ประเมินจากความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
2.1.1 มีความรู้และความเข้าใจทางคณิตศาสตร์พื้นฐาน วิทยาศาสตร์พื้นฐาน วิศวกรรมพื้นฐาน และเศรษฐศาสตร์ เพื่อการประยุกต์ใช้กับงานทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง และการสร้างนวัตกรรมทางเทคโนโลยี
2.1.2 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการที่สำคัญ ทั้งในเชิงทฤษฎีและปฏิบัติ ในเนื้อหาของสาขาวิชาเฉพาะด้านทางวิศวกรรม
2.1.3 สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
2.1.4 สามารถวิเคราะห์และแก้ไขปัญหาด้วยวิธีการที่เหมาะสม รวมถึงการประยุกต์ใช้เครื่องมือที่เหมาะสม เช่น โปรแกรมคอมพิวเตอร์ เป็นต้น
2.1.5 สามารถใช้ความรู้และทักษะในสาขาวิชาของตนในการประยุกต์แก้ไขปัญหาในงานจริงได้
ใช้การเรียนการสอนในหลากหลายรูปแบบโดยเน้นหลักการทางทฤษฎีและประยุกต์ทางปฎิบัติในสภาพแวดล้อมจริงโดยทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี ทั้งนี้ให้เป็นไปตามลักษณะของรายวิชาตลอดจนเนื้อหาสาระของรายวิชานั้น ๆ นอกจากนี้ควรจัดให้มีการเรียนรู้จากสถานการณ์จริงโดยการศึกษาดูงานหรือเชิญผู้เชี่ยวชาญที่มีประสบการณ์ตรงมาเป็นวิทยากรพิเศษเฉพาะเรื่อง ตลอดจนการฝึกปฏิบัติงานในสถานประกอบการ
2.3.1 การทดสอบย่อย
2.3.2 การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน
2.3.3 ประเมินจากรายงานที่นักศึกษาจัดทำ
2.3.4 ประเมินจากแผนธุรกิจหรือโครงการที่นำเสนอ
2.3.5 ประเมินจากการนำเสนอรายงานในชั้นเรียน
2.3.6 ประเมินจากรายวิชาสหกิจศึกษา
3.1.1 มีความคิดอย่างมีวิจารณญาณที่ดี
3.1.2 สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และ สรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ
3.1.3 สามารถคิด วิเคราะห์ และแก้ไขปัญหาด้านวิศวกรรมได้อย่างมีระบบรวมถึงการใช้ข้อมูลประกอบการตัดสินใจในการทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
3.1.4 มีจินตนาการและความยืดหยุ่นในการปรับใช้องค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องอย่างเหมาะสมในการพัฒนานวัตกรรมหรือต่อยอดองค์ความรู้จากเดิมได้อย่างสร้างสรรค์
3.1.5 สามารถสืบค้นข้อมูลและแสวงหาความรู้เพิ่มเติมได้ด้วยตนเองเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิตและทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางองค์ความรู้และเทคโนโลยีใหม่ ๆ
3.2.1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
3.2.2 การอภิปรายกลุ่ม
3.2.3 ให้นักศึกษามีโอกาสปฏิบัติจริง
ประเมินตามสภาพจริงจากผลงานและการปฏิบัติของนักศึกษา เช่น ประเมินจากการนำเสนอรายงานในชั้นเรียน การทดสอบโดยใช้แบบทดสอบหรือสัมภาษณ์ เป็นต้น
4.1.1 สามารถสื่อสารกับกลุ่มคนที่หลากหลาย และสามารถสนทนาทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถใช้ความรู้ในสาขาวิชาชีพมาสื่อสารต่อสังคมได้ในประเด็นที่เหมาะสม
4.1.2 สามารถเป็นผู้ริเริ่มแสดงประเด็นในการแก้ไขสถานการณ์เชิงสร้างสรรค์ทั้งส่วนตัวและส่วนรวม พร้อมทั้งให้ความช่วยเหลือและอำนวยความสะดวกในการแก้ไขปัญหาสถานการณ์ต่าง ๆ ในกลุ่มทั้งในบทบาทผู้นำและผู้ร่วมทีมทำงาน
4.1.3 สามารถวางแผนและรับผิดชอบในการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเอง และสอดคล้องกับทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
4.1.4 รู้จักบทบาท หน้าที่ และมีความรับผิดชอบในการทำงานตามที่มอบหมาย ทั้งงานบุคคลและงานกลุ่ม สามารถปรับตัวและทำงานร่วมกับผู้อื่นทั้งในฐานะผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถวางตัวได้อย่างเหมาะสมกับความรับผิดชอบ
4.1.5 สามารถวางตัวได้อย่างเหมาะสมกับความรับผิดชอบ มีจิตสำนึกความรับผิดชอบด้านความปลอดภัยในการทำงาน และการรักษาสภาพแวดล้อมต่อสังคม
4.2.1 สามารถทำงานกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี
4.2.2 มีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย
4.2.3 สามารถปรับตัวเข้ากับสถานการณ์และวัฒนธรรมองค์กรที่ไปปฏิบัติงานได้เป็นอย่างดี
4.2.4 มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีกับผู้ร่วมงานในองค์กรและกับบุคคลทั่วไป
4.2.5 มีภาวะผู้นำ
ประเมินจากพฤติกรรมและการแสดงออกของนักศึกษาในการนำเสนอรายงานกลุ่มในชั้นเรียนและสังเกตจากพฤติกรรมที่แสดงออกในการร่วมกิจกรรมต่าง ๆ และความครบถ้วนชัดเจนตรงประเด็นของข้อมูล
5.1.1 สามารถใช้เครื่องมือทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ ตลอดจนทักษะในการใช้คอมพิวเตอร์ สำหรับการทำงานที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพได้เป็นอย่างดี
5.1.2 มีทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศทางคณิตศาสตร์หรือการแสดงสถิติประยุกต์ ต่อการแก้ปัญหาที่เกี่ยวข้องได้อย่างสร้างสรรค์
5.1.3 สามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ที่ทันสมัยได้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ
5.1.4 มีทักษะในการสื่อสารข้อมูลทั้งทางการพูด การเขียน และการสื่อความหมายโดยใช้สัญลักษณ์
5.1.5 สามารถใช้เครื่องมือการคำนวณและเครื่องมือทางวิศวกรรม เพื่อประกอบวิชาชีพในสาขาวิศวกรรมที่เกี่ยวข้องได้
จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรายวิชาต่าง ๆ ให้นักศึกษาได้วิเคราะห์สถานการณ์จำลอง และสถานการณ์เสมือนจริง แล้วนำเสนอการแก้ปัญหาที่เหมาะสม เรียนรู้เทคนิคการประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศในหลากหลายสถานการณ์โดยการติดต่อสื่อสารค้นคว้าหาข้อมูลและนำเสนอผลจากการค้นคว้าโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
5.3.1 ประเมินจากเทคนิคการนำเสนอโดยใช้ทฤษฏี การเลือกใช้เครื่องมือทางเทคโนโลยีสารสนเทศ หรือคณิตศาสตร์และสถิติ ที่เกี่ยวข้อง
5.3.2 ประเมินจากความสามารถในการอธิบาย ถึงข้อจำกัด เหตุผลในการเลือกใช้เครื่องมือต่าง ๆ การอภิปราย กรณีศึกษาต่างๆ มีการนำเสนอต่อชั้นเรียน
6.1.1 มีทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์และวิธีการได้อย่างมีประสิทธิภาพ
6.1.2 มีทักษะในการปฏิบัติงานกลุ่ม มีการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ และมีความร่วมมือกันเป็นอย่างดี
6.2.1 สาธิตการปฏิบัติการทางด้านการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์โดยผู้เชี่ยวชาญ
6.2.2 ให้ความสำคัญต่อการปฏิบัติงานอย่างเป็นระบบและมีความประณีต
6.3.1 สังเกตพฤติกรรมการปฏิบัติงานและจดบันทึก
6.3.2 พิจารณาผลการปฏิบัติงาน รวมทั้งงานที่มอบหมาย
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา | 1.คุณธรรม จริยธรรม | 2. ความรู้ | 3. ทักษะทางปัญญา | 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคลและความรับผิดชอบ | 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ | 6. ทักษะพิสัย | ||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ลำดับ | รหัสวิชา | ชื่อวิชา | 1.2 มีวินัย ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม | 1.5 มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพและมีความรับผิดชอบในฐานะผู้ประกอบวิชาชีพ รวมถึงเข้าใจถึงบริบททางสังคมของวิชาชีพวิศวกรรมในแต่ละสาขา ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน | 2.2 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการที่สำคัญ ทั้งในเชิงทฤษฎีและปฏิบัติ ในเนื้อหาของสาขาวิชาเฉพาะด้านทางวิศวกรรม | 2.3 สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง | 2.5 สามารถใช้ความรู้และทักษะในสาขาวิชาของตน ในการประยุกต์แก้ไขปัญหาในงานจริงได้ | 3.2 สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และ สรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ | 3.5 สามารถสืบค้นข้อมูลและแสวงหาความรู้เพิ่มเติมได้ด้วยตนเองเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิตและทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางองค์ความรู้และเทคโนโลยีใหม่ ๆ | 4.4 รู้จักบทบาท หน้าที่ และมีความรับผิดชอบในการทำงานตามที่มอบหมาย ทั้งงานบุคคลและงานกลุ่ม สามารถปรับตัวและทำงานร่วมกับผู้อื่นทั้งในฐานะผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถวางตัวได้อย่างเหมาะสมกับความรับผิดชอบ | 4.5 สามารถวางตัวได้อย่างเหมาะสมกับความรับผิดชอบ มีจิตสำนึกความรับผิดชอบด้านความปลอดภัยในการทำงาน และการรักษาสภาพแวดล้อมต่อสังคม | 5.3 สามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ที่ทันสมัยได้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ | 5.4 มีทักษะในการสื่อสารข้อมูลทั้งทางการพูด การเขียน และการสื่อความหมายโดยใช้สัญลักษณ์ | 5.5 สามารถใช้เครื่องมือการคำนวณและเครื่องมือทางวิศวกรรม เพื่อประกอบวิชาชีพในสาขาวิศวกรรมที่เกี่ยวข้องได้ | 6.1 มีทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์และวิธีการได้อย่างมีประสิทธิภาพ | 6.2 มีทักษะในการปฏิบัติงานกลุ่ม มีการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ และมีความร่วมมือกันเป็นอย่างดี |
1 | ENGEL312 | วงจรอิเล็กทรอนิกส์ทางการแพทย์ |
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล |
---|---|---|---|---|
1 | 1.2 และ 1.5 | 1. การเข้าชั้นเรียน และ การส่งแบบฝึ กหัด 2.การเข้าห้องปฏิบัติการ 3.ความใส่ใจต่องานที่ได้รับมอบหมาย | 1-7 และ 9-15 | 20 |
2 | 2.2 / 2.3 / 2.5 | 1. ทดสอบย่อย 2. แบบฝึ กหัดและงานอื่นๆ ที่มอบหมาย 3. สอบกลางภาค 4. สอบปลายภา | 8/ 16/ 17 | 60 |
3 | 3.2,3.5/4.4, 4.5/5.3, 5.4,5.5 | สอบโครงงาน หรือ การนําเสนอและรายงาน หรือ ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบต่องานที่มอบหมาย | 6,15 | 20 |
หมวดที่ 6
ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน
1. หนังสือ ตำรา และเอกสารประกอบการสอนหลัก
1. Electronic Devices and Circuit Theory (7th Edition), Louis Nashelsky; Robert L. Boylestad, Prentice Hall, 2001 2. Allan R. Hambley, Electrical Engineering : Principles and Applications, Prentice Hall, 2005. 3. Willam H. Hayt, JR., Jack E.Kemmerly, Engineering Circuit Analysis, McGraw-Hill, 1993. 4. Giorgio Rizzoni, Principles and Applications of Electrical Engineering, McGraw Hill, 20011. 5. มงคล ทองสงคราม, เครื่องวัดอิเล็กทรอนิกส์และไฟฟ้า, 1996. 6. พันธ์ศักดิ์ พุฒิมานิตพงศ์, อิเล็กทรอนิกส์ในงานอุตสาหกรรม, Se-Ed’s Textbook, 2553. 7. ทีมงานสมาร์ทเลิร์นนิง, เซนเซอร์ ทรานสดิวเซอร์ และการใช้งาน,ห้างหุ้นส่วนสามัญสมาร์ทเลิร์นนิ่ง, 2552.
ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน
1. หนังสือ ตำรา และเอกสารประกอบการสอนหลัก
1. Electronic Devices and Circuit Theory (7th Edition), Louis Nashelsky; Robert L. Boylestad, Prentice Hall, 2001 2. Allan R. Hambley, Electrical Engineering : Principles and Applications, Prentice Hall, 2005. 3. Willam H. Hayt, JR., Jack E.Kemmerly, Engineering Circuit Analysis, McGraw-Hill, 1993. 4. Giorgio Rizzoni, Principles and Applications of Electrical Engineering, McGraw Hill, 20011. 5. มงคล ทองสงคราม, เครื่องวัดอิเล็กทรอนิกส์และไฟฟ้า, 1996. 6. พันธ์ศักดิ์ พุฒิมานิตพงศ์, อิเล็กทรอนิกส์ในงานอุตสาหกรรม, Se-Ed’s Textbook, 2553. 7. ทีมงานสมาร์ทเลิร์นนิง, เซนเซอร์ ทรานสดิวเซอร์ และการใช้งาน,ห้างหุ้นส่วนสามัญสมาร์ทเลิร์นนิ่ง, 2552.
-
แบบประเมินรายวิชา (ปรส.1)
แบบประเมินผลลัพธ์การเรียนรู้ของนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
2.1 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษารายหน่วยเรียน
2.2 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ