เทคโนโลยีผลิตภัณฑ์เนื้อสัตว์และสัตว์น้ำ

Meat and Fishery Products Technology

กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.1 สอบย่อย (หน่วยที่ 1, 2, 5) 4,11 20%
2 2.1 สอบกลางภาค(หน่วยที่ 3, 4) 9 15%
3 2.1 สอบปลายภาค(หน่วยที่ 6-7) 18 15%
4 1.3, 1.5, 2.3, 5.2, 5.6 การนำเสนองานวิจัยและรายงาน 16-18 10 %
5 4.1, 6.1 การทำงานกลุ่มและผลงาน ตลอดภาคการศึกษา 10 %
6 4.1 การส่งรายงานบทปฏิบัติการ ตลอดภาคการศึกษา 10 %
7 3.4, 4.1, 6.1 สอบปฏิบัติ 17 10 %
8 1.3, 1.5 จิตพิสัยในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10 %
จุฑารัตน์ เศรษฐกุล และญาณิน โอภาสพัฒนกิจ.  (2548). คุณภาพเนื้อโคภายใต้ระบบการผลิตและการตลาด           ของประเทศไทย.  สุพีเรียพริ้นติ้งเฮาส์ จำกัด.  กรุงเทพมหานคร. ชัยณรงค์  คันธพนิต.  (2529).  วิทยาศาสตร์เนื้อสัตว์.  พิมพ์ครั้งที่ 1 .  กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช จำกัด.            276 น. เยาวลักษณ์  สุรพันธพิศิษฐ์.  (2536).  เทคโนโลยีเนื้อสัตว์และผลิตภัณฑ์.  พิมพ์ครั้งที่ 2.  ภาควิชา           อุตสาหกรรมเกษตร คณะเทคโนโลยีเกษตรสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง.            135 น. นภาพร  ดีสนาม.  (2549).  ผลของการพัฒนาสูตรร่วมกับการเติมเจลบุกและโซเดียมไนไตรท์ต่อคุณภาพไส้อั่ว.            วิทยานิพนธ์ปริญญาโท.  มหาวิทยาลัยแม่โจ้. นงนุช  รักสกุลไทย.  (2530).  กรรมวิธีแปรรูปสัตว์น้ำ.  ภาควิชาผลิตภัณฑ์ประมง: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. ไพศาล  วุฒิจำนงค์.  (2531).  คู่มือปฏิบัติการ เทคโนโลยีผลิตภัณฑ์ประมง.  ภาควิชาอุตสาหกรรมเกษตร คณะทรัพยากรธรรมชาติ: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.  36 น. มัทนา  แสงจินดาวงษ์.  (2538).  จุลชีววิทยาของผลิตภัณฑ์ประมง.  ภาควิชาผลิตภัณฑ์ประมง คณะประมง: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.  238 น. มัทนา  แสงจินดาวงษ์.  (2545).  ผลิตภัณฑ์ประมงไทย.  พิมพ์ครั้งที่ 1.  ภาควิชาผลิตภัณฑ์ประมง           คณะประมง: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.  323 น. ยุทธพงศ์ ประชา สิทธิศักดิ์  โกวิทย์ นุชประมูล  เสาวพงศ์ เจริญ และสุรศักดิ์ สัจจบุตร.  อาหารฉายรังสี. (ไม่ปรากฏปีที่พิมพ์).  สืบค้นเมื่อ 2 กันยายน 2559, จาก           http://www.tint.or.th/sites/default/files/PDF_Document_File/อาหารฉายรังสี.pdf ลักขณา  รุจนไกรกานต์.  (2533).  วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเนื้อสัตว์.  มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. 407 น. วิลาวัลย์  ธเนศมณีรัตน์.  (2558).  แพลงก์ตอนพืชในน้ำทะเลที่ก่อให้เกิดพิษต่อสัตว์น้ำและมนุษย์.         สํานักจัดการคุณภาพน้ำ กรมควบคุมมลพิษ.  ศูนย์วิจัยและตรวจสอบคุณภาพสัตว์น้ำและผลิตภัณฑ์.  การปนเปื้อน Polycyclic Aromatic Hydrocarbon ล่าสุด.  (ไม่ปรากฏปีที่พิมพ์).  สืบค้นเมื่อ 12 กันยายน 2559, จาก http://www.fisheries.go.th/quality/การปนเปื้อน%20Polycyclic%20Aromatic%20Hydrocarbon%20ล่าสุด.pdf อุมาพร  ศิริพินทุ์.  (2546).  เอกสารประกอบการสอน เทคโนโลยีผลิตภัณฑ์เนื้อสัตว์.  เชียงใหม่:           ภาควิชาเทคโนโลยีทางอาหาร.  คณะวิศวกรรมและอุตสาหกรรมเกษตร.  มหาวิทยาลัยแม่โจ้.  181 น. สุทธวัฒน์  เบญจกุล.  (2548).  เคมีและคุณภาพสัตว์น้ำ.  พิมพ์ครั้งที่ 1.  โอ.เอส.พริ้นติ้งเฮ้าส์: โอเดียนสโตร์.  336 น. Barbut S.  (2002).  Poultry Products Processing an Industry Guide.  CRC Press.  UK. Campbell-Platt G. and Cook P.E.  (1995).  Fermented Meats.  Blackie academic & Professional UK.  242 p. Dolah F.M. van.  (2000).  Marine algal toxins: Origins, health effects, and their increased           occurrence, Environ Health Perspect. p, 134. F.M. van Dolah.  (2000).  Marine algal toxins: Origins, health effects, and their increased           occurrence.  Environ. Health Perspect, 108 (Sppl. 1), 133-141. Jung S., Kim H. J., Park S.,  Yong H I., Choe J. H., Jeon H-J., Choe H. & Jo C.  (2015).  The use of atmospheric pressure plasma-treated water as a source of nitrite for emulsion-type sausage. Journal of Meat Science, 108, 132-137. Nielson  J.R.  (1994).  The Science of Meat & Meat Products.  Rajabhat Pibulsongkram           College, Phitsanulok Thailand. Oliveira A.  (2012).  Rigor Mortis in Fish.  สืบค้นเมื่อ 2 กันยายน 2559, จาก https://www.sfos.uaf.edu/fitc/teaching/courses/FSN261/lectures/FISH%20261%20Rigor%20Mortis%20Mar%202nd%20and%205th%202012.pdf Price J. F. and Schweigert B. S.  (1971).  2nd edited.  The science of meat and meat   products.  San Francisco : W. H. Freeman, United States of America.  660 p. Scholtz V., Pazlarova J., Souskova H., Khun J. and Julak J.  (2015).  Non thermal plasma — A tool for decontamination and disinfection.  Journal of Biotechnology Advances, 33, 1108–1119. Toldrá  F., Aristoy  M.-C., Mora L. & Reig  M.  (2012).  Review: Innovations in value-           addition of edible meat by-products.  Journal of Meat Science, 92, 290-296. Warriss, P.D.  (2000).  Meat Science.  New York: CABI Publishing.  310 p.
วารสารอาหาร, Journal of Food Science, Journal of Food Technology, Journal of Meat Science เวปไซด์มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมอาหาร มาตรฐานผลิตภัณฑ์ผลิตภัณฑ์ชุมชน อย. กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ E-learning ของมหาวิทยาลัยต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง
1.1 แบบประเมินความพึงพอใจรายวิชา  1.2 ข้อเสนอแนะผ่านระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ต
2.1 การสังเกตการณ์สอนของผู้สอน 2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา 2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
3.1 การจัดสัมมนาความรู้ใหม่ๆ ทางเทคโนโลยีเนื้อสัตว์ในชั้นเรียน 3.2 จัดให้นักศึกษานำเสนอผลการปฏิบัติหลังชั่วโมงฝึกปฏิบัติทุกสัปดาห์พร้อมเขียนสรุปวิจารณ์ 3.3 จัดให้มีการศึกษาดูงานนอกสถานที่โรงงานอุตสาหกรรมเนื้อสัตว์ 3.4 จัดให้มีการบรรยายความรู้ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีเนื้อสัตว์จากวิทยากรภายนอกตามโอกาส
ระหว่างการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามหรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้ 4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร 4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้ 5.1 ปรับปรุงรายวิชาตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4 จากผู้ทรงคุณวุฒิและนักศึกษา 5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ