โภชนาการ

Nutrition

1.1  เข้าใจคุณสมบัติและโครงสร้างของสารชีวโมเลกุลและกระบวนการเมแทบอลิซึมภายในร่างกาย
1.2  เข้าใจชนิดและความสำคัญของสารอาหาร การย่อย และการดูดซึมสารอาหาร สารพิษในอาหาร
1.3  เข้าใจความต้องการสารอาหารและพลังงาน
1.4  เข้าใจการเปลี่ยนแปลงสารอาหารระหว่างการแปรรูป
1.5  เข้าใจอาหารเพื่อสุขภาพ ฉลากโภชนาการ และการคำนวณคุณค่าทางอาหาร
1.6  เข้าใจสภาวะทางโภชนาการสำหรับบุคคลในภาวะต่างๆ
1.7  เข้าใจความต้องการอาหารและสมดุลพลังงาน
1.8  เข้าใจอาการและโรคที่เกิดจากความผิดปกติของการบริโภค
เพื่อเพิ่มเติมรายละเอียดของวิชา  ด้านความรู้  ความเข้าใจ ให้ได้ตามเกณฑ์ของหลักสูตร และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ร่วมกับงานที่เกี่ยวข้อง ชีวิตประจำวัน โดยให้มีความทันสมัยสอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงในปัจจุบัน
2.1  เพื่อให้เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรของสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ
     2.2  เพื่อให้นักศึกษาได้รับความรู้เกี่ยวกับโภชนศาสตร์ที่ทันสมัยในระดับสากล เช่น การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารเพื่อสุขภาพชนิดใหม่ ๆ ที่เพิ่มคุณค่าทางโภชนาการ หรือแก้ไขปัญหาโภชนาการ และงานวิจัยต่าง ๆ ทางด้านโภชนาการเพื่อให้เกิดแนวคิดในการพัฒนาไปสู่คุณภาพชีวิตด้านสุขภาพร่างกายที่ดีต่อไป
ศึกษาคุณสมบัติและโครงสร้างของสารชีวโมเลกุลต่างๆ ได้แก่ คาร์โบไฮเดรท ลิพิค กรดอมิโน โปรตีน กรดนิวคลิอิก เอนไซม์ ฮอร์โมน และกระบวนการเมแทบอลิซึมภายในร่างกาย ชนิดและความสำคัญของสารอาหาร  การยอย และ การดูดซึมสารอาหาร สารพิษในอาหาร ความตองการสารอาหารและพลังงาน การเปลี่ยนแปลงสารอาหารระหวางการแปรรูป อาหารเพื่อสุขภาพ ฉลาก โภชนาการ การคํานวณคุณคาทางอาหาร สภาวะทางโภชนาการสําหรับบุคคลใน ภาวะตางๆ      ความตองการอาหารและสมดุลพลังงาน อาการและโรคที่เกิดจาก ความผิดปกติของการบริโภคอาหาร
Study on properties and structure of biomolecules including carbohydrates, lipids, amino acids, proteins, nucleic acids, enzymes, hormones and metabolic processes in the body; the type and importance of nutrients; digestion and absorption of nutrients; toxins in food nutrient and energy needs; changes in nutrients during processing; healthy food, nutrition labels, nutritional calculation, nutritional status for people in various conditions; symptoms and diseases caused by disorders of consumption
จัดให้นักศึกษาพบอาจารย์เพื่อขอคำปรึกษาและแนะนำเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ (เฉพาะรายที่ต้องการ) สัปดาห์ละ1 ชั่วโมง (วันพฤหัสบดี เวลา 08.00-11.00 น.) ห้องพักอาจารย์ 3 หรือติดต่อกับอาจารย์ทางโทรศัพท์หรือ E-mail หรือโดยอาจารย์แจ้งให้นักศึกษาทราบในใบกำหนดการสอนที่แจกให้กับนักศึกษา 
1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
1.4 เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆขององค์กรและสังคม
 1.5 เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- ใช้การสอนแบบสื่อสารสองทาง เปิดโอกาสให้นักศึกษามีการตั้งคำถามหรือตอบคำถามเพื่อแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน ยกตัวอย่างกรณีศึกษาตัวอย่างที่ขาดความรับผิดชอบต่อหน้าที่และพฤติกรรม ที่ขาดจรรยาบรรณในวิชาชีพ อาจารย์ปฏิบัติตนเป็นตัวอย่างด้านการมีวินัยเรื่องเวลา การเปิดโอกาสให้นักศึกษาได้แสดงความคิดเห็นและรับฟังความคิดเห็นของนักศึกษา  โดยใช้วิธีการสอนดังนี้
1. การสอนแบบบรรยาย  
2. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม  (Participatory Learning) 
 
- ประเมินผลจากพฤติกรรมที่แสดงออกในชั้นเรียนและในสถานการณ์ที่คณะจัดกิจกรรมต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องทางด้านคุณธรรมและจริยธรรม ตรวจสอบการ     มีวินัยต่อการเรียนการตรงต่อเวลา      ในการเข้าเรียน และประเมินการรับฟัง      ความคิดเห็นของผู้อื่น โดยประเมินเป็นรายบุคคลและรายกลุ่ม
- การทดสอบก่อนเข้าบทเรียน ทดสอบ
ย่อย สอบกลางภาค และสอบปลายภาค ควบคุมไม่ให้มีการทุจริตในการทดสอบ
ตรวจสอบการเคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ จากการแต่งกาย และพฤติกรรมที่แสดงออกในชั้นเรียน
ใช้วิธีการวัดและประเมินผลจาก

การเขียนบันทึก การสังเกต

ข้อสอบปรนัย
 2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฏีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา ด้านชนิดและความสําคัญของสารอาหาร การยอย และ การดูดซึมสารอาหาร สารพิษในอาหาร ความตองการสารอาหารและพลังงาน การเปลี่ยนแปลงสารอาหารระหวางการแปรรูป อาหารเพื่อสุขภาพ ฉลากโภชนาการ การคํานวณคุณคาทางอาหาร สภาวะทางโภชนาการสําหรับบุคคลใน

2.  ด้านความรู้ที่ต้องได้รับ(Knowledge)
 2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฏีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา ด้านชนิดและความสําคัญของสารอาหาร การยอย และ การดูดซึมสารอาหาร สารพิษในอาหาร ความตองการสารอาหารและพลังงาน การเปลี่ยนแปลงสารอาหารระหวางการแปรรูป อาหารเพื่อสุขภาพ ฉลากโภชนาการ การคํานวณคุณคาทางอาหาร สภาวะทางโภชนาการสําหรับบุคคลใน ภาวะตางๆ ความตองการอาหารและสมดุลพลังงาน อาการและโรคที่เกิดจาก ความผิดปกติของการบริโภคอาหาร
š2.2สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการวิชาการรวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการแก้ไขปัญหาและต่อยอดองค์ความรู้และมีความรู้ในแนวกว้างของสาขาวิชาที่ศึกษาเพื่อให้เล็งเห็นการเปลี่ยนแปลงและเข้าใจผลกระทบของเทคโนโลยีใหม่ๆ
2.3 สามารถบูรณาการความรู้ทางวิชาชีพกับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง เช่น อาหารเพื่อสุขภาพ ฉลากโภชนาการ
การคํานวณคุณคาทางอาหาร สภาวะทางโภชนาการสําหรับบุคคลใน ภาวะตางๆ ความตองการอาหารและสมดุลพลังงาน อาการและโรคที่เกิดจาก ความผิดปกติของการบริโภคอาหาร
˜ 2.4 รู้กฎระเบียบ ข้อกำหนดทางเทคนิค รวมทั้งการปรับเปลี่ยนตามกาลเวลาเพื่อตอบสนองต่อสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป
 
- บรรยาย อภิปรายหลักการทฤษฎี เนื้อหาความรู้ที่เกี่ยวข้องตามวัตถุประสงค์ทั่วไปของรายวิชาที่ได้กำหนดไว้ และยกตัวอย่างให้เห็นถึงความเชื่อมโยงหรือความเกี่ยวข้องกัน
- นักศึกษาค้นคว้าหาข้อมูล       ที่เกี่ยวข้องเพิ่มเติม เพื่อนำเสนอและรายงานจัดทำรายงาน นักศึกษา  โดยใช้วิธีการสอนดังนี้
1. การสอนแบบบรรยาย  
2. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม  (Participatory Learning) 
3. การเรียนแบบค้นพบ   (Discovery Learning
 - บรรยาย อภิปรายหลักการทฤษฎี เนื้อหาความรู้ที่เกี่ยวข้องตามวัตถุประสงค์ทั่วไปของรายวิชาที่ได้กำหนดไว้ และยกตัวอย่างให้เห็นถึงความเชื่อมโยงหรือความเกี่ยวข้องกัน
- นักศึกษาค้นคว้าหาข้อมูล       ที่เกี่ยวข้องเพิ่มเติม เพื่อนำเสนอและรายงานจัดทำรายงาน นักศึกษา  โดยใช้วิธีการสอนดังนี้
1. การสอนแบบบรรยาย  
2. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม  (Participatory Learning) 
3. การเรียนแบบค้นพบ   (Discovery Learning
 
 - บรรยาย อภิปรายหลักการทฤษฎี เนื้อหาความรู้ที่เกี่ยวข้องตามวัตถุประสงค์ทั่วไปของรายวิชาที่ได้กำหนดไว้ และยกตัวอย่างให้เห็นถึงความเชื่อมโยงหรือความเกี่ยวข้องกัน
- นักศึกษาค้นคว้าหาข้อมูล       ที่เกี่ยวข้องเพิ่มเติม เพื่อนำเสนอและรายงานจัดทำรายงาน นักศึกษา  โดยใช้วิธีการสอนดังนี้
1. การสอนแบบบรรยาย  
2. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม  (Participatory Learning) 
3. การเรียนแบบค้นพบ   (Discovery Learning
- การทดสอบย่อย สอบกลางภาค      สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นหลักการและทฤษฎี
- ประเมินจากรายงานและการนำเสนอข้อมูลของนักศึกษาที่ได้รับมอบหมาย
ใช้วิธีการวัดและประเมินผลจาก

โครงการกลุ่ม การสังเกต การนำเสนองาน ข้อสอบอัตนัย ข้อสอบปรนัย
3.1 มีทักษะทางปัญญาด้านโภชนาการสําหรับบุคคลใน ภาวะตางๆ ความตองการสารอาหารและสมดุลพลังงาน อาการและโรคที่เกิดจาก ความ

3.  ด้านทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา(Cognitive Skills)
 3.1 มีทักษะทางปัญญาด้านโภชนาการสําหรับบุคคลใน ภาวะตางๆ ความตองการสารอาหารและสมดุลพลังงาน อาการและโรคที่เกิดจาก ความผิดปกติของการบริโภคอาหาร โภชนาการของบุคคลในภาวะต่าง ๆ
š3.2 มีทักษะในการนำความรู้ความตองการอาหารและสมดุลพลังงาน อาการและโรคที่เกิดจากความผิดปกติของการบริโภคอาหาร มาคิดและใช้อย่างมีระบบในการค้นคว้าข้อมูลทางวิชาการด้านโภชนาการ และนำข้อมูลมา ประมวลและทบทวนเอกสารทางวิชาการด้านโภชนาการและอาหารเสริมสุขภาพ มานำเสนอได้อย่างเป็นขั้นตอนและถูกต้อง
˜ 3.3 สามารถใช้ทักษะและความเข้าใจ ในบริบททางวิชาชีพและวิชาการ เช่น การตรวจวิเคราะห์อาหาร การควบคุมและประกันคุณภาพ การวิจัย และงานอื่นๆที่เกี่ยวข้อง
    3.4 มีทักษะในภาคปฏิบัติที่ได้รับการฝึกฝน ตามเนื้อหาสาระสำคัญของสาขาวิชา
1. การสอนแบบบรรยาย    ในเนื้อหาวิชาทางวิชาการ        ที่เกี่ยวข้อง
  2. กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process)  เนื้อหาวิชาที่เกี่ยวข้องเป็นปัจจุบัน ที่ทางวิชาการที่แสดงผลของ
 
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหารที่มี  ต่อโภชนาการ
3. สอนโดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem Based Learning) และสอนเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
  4. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม  (Participatory Learning) 
โดยจัดให้มีการอภิปรายในรูป   ของกิจกรรมกลุ่มในหัวข้อ            ที่มอบหมายแก่นักศึกษา          ที่เกี่ยวข้อง มีการตั้งโจทย์/คำถาม หรือยกตัวอย่างสถานการณ์ในระหว่างการเรียนการสอนเพื่อให้นักศึกษาได้ฝึกคิด วิเคราะห์ และมีความกล้าแสดงออกทางความคิด
- ประเมินจากการสังเกตกระบวน      ตอบปัญหาการจัดการระบบการแสดงความคิดความคิดเห็นเป็นในชั้นเรียน   ทั้งรายบุคคล และกลุ่ม ของนักศึกษา เหตุผลสนับสนุนทางด้านวิชาการ         ที่เหมาะสม
- ประเมินจากงานที่ได้รับมอบหมาย
- การทดสอบย่อย การสอบข้อเขียนกลางภาคและปลายภาค
ใช้วิธีการวัดและประเมินผลจาก
 

โครงการกลุ่ม การสังเกต การนำเสนองานค้นคว้า ข้อสอบอัตนัย ข้อสอบปรนัย
4.1  มีมนุษย์สัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
˜4.2  มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม
4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4.4  สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
1. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม  (Participatory Learning โดย  1.1 จัดกลุ่มและมอบหมายงานกลุ่ม และมีการเปลี่ยนกลุ่มทางานตามกิจกรรมที่มอบหมาย เพื่อให้นักศึกษาทางานได้กับผู้อื่น
1.2.จัดกิจกรรมเสริมในชั้นเรียนและนอกชั้นเรียนที่นักศึกษามีโอกาสปฏิสัมพันธ์กับนักศึกษาคนอื่นและบุคคลภายนอก
1.3 กำหนดความรับผิดชอบของนักศึกษาแต่ละคนในการทำงานกลุ่มแต่ให้นักศึกษาวางแผนและแบ่งงานให้สมาชิกในกลุ่มรับผิดชอบด้วยตนเอง
ใช้วิธีการวัดและประเมินผลจาก

โครงการกลุ่ม การสังเกต การนำเสนองาน ข้อสอบอัตนัย ข้อสอบปรนัย

โดย

- สังเกตพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม ประเมินความรับผิดชอบจากงานที่มอบหมายจากความตรงต่อเวลาและคุณภาพงานที่ได้
- ประเมินการวางแผนการทางานและการแบ่งงานให้สมาชิกในกลุ่ม            จากคุณภาพงานและการส่งงานตามกำหนดเวลา
- ให้นักศึกษาประเมินตนเองและสมาชิกคนอื่น ๆ ในกลุ่มด้านความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมายและความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล การปรับตัวในการทางานร่วมกันในกลุ่ม ทั้งในฐานะผู้นำกลุ่มและสมาชิกกลุ่มได้อย่างมีประสิทธิภาพ
 
- ประเมินการวางแผนการทางานและการแบ่งงานให้สมาชิกในกลุ่ม            จากคุณภาพงานและการส่งงานตามกำหนดเวลา
- ให้นักศึกษาประเมินตนเองและสมาชิกคนอื่น ๆ ในกลุ่มด้านความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมายและความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล การปรับตัวในการทางานร่วมกันในกลุ่ม ทั้งในฐานะผู้นำกลุ่มและสมาชิกกลุ่มได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5.1 เลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารได้เหมาะสมรวดเร็ว
š5.2 สืบค้น ศึกษา วิเคราะห์และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
š5.3 สามารถใช้ภาษาไทยอย่างถูกต้องและภาษาอังกฤษเพื่อการเรียนรู้ได้อย่างเหมาะสม เลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
š5.4 ใช้ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ ในการสื่อสารได้อย่างถูกต้องตามกาลเทศะ และสอดคล้องกับวัฒนธรรมสากล
5.5 สามารถใช้คอมพิวเตอร์ในการจัดเก็บข้อมูลต่างๆ ได้อย่างเหมาะสม
 š5.6 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี 
นวัตกรรมและสถานการณ์โลก โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
 5.7 สามารถใช้ภาษาไทยได้อย่างถูกต้องทั้งภาษาพูดและภาษาเขียน และภาษาอังกฤษในระดับใช้งานได้อย่างเหมาะสม
- มีการสอนและอธิบายเชิงทฤษฎีและนำเสนอข้อมูลทางอินเตอร์เน็ตโดยใช้ Power point และการค้นคว้าทางอินเตอร์เน็ต เพื่อเป็นตัวอย่างกระตุ้นให้นักศึกษาเห็นประโยชน์จากการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนาเสนอและสืบค้นข้อมูลกรณีศึกษาเกี่ยวกับความสำคัญทางด้านโภชนาการ
- แนะนำเทคนิคการสืบค้นข้อมูลและแหล่งข้อมูลผ่านระบบสารสนเทศ
- มอบหมายงานที่ต้องมีการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศมีการนำเสนอข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต และนำเสนองานด้วยวาจาโดยใช้สื่อ Power point
- ประเมินจากเทคนิคการนำเสนอ โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
- ประเมินจากความสามารถในการอธิบาย การอภิปรายกรณีศึกษาต่าง ๆ    ตลอดจนความเข้าในและความถูกต้อง  ในเนื้อหาที่นำเสนอต่อชั้นเรียน
6.1 มีทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลารวมถึงความ
สามารถในการทำงานเป็นกลุ่ม มีการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ
-  จัดให้นักศึกษาให้ทำงานเป็นกลุ่มตามงานที่ได้รับมอบหมาย และกำหนดระยะเวลาในการทำงานอย่างเหมาะสม
- ประเมินจากการประสบความสำเร็จของงานตามระยะเวลาที่กำหนด
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. ด้านคุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา (Ethics and Moral) 2. ด้านความรู้ที่ต้องได้รับ(Knowledge) 3. ด้านทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา(Cognitive Skills) 4.ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา(Interpersonal Skills and Responsibility) 5.ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม 1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ 1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม 1.4 เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆขององค์กรและสังคม 1.5 เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น 2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฏีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา ด้านชนิดและความสําคัญของสารอาหาร การยอย และ การดูดซึมสารอาหาร สารพิษในอาหาร ความตองการสารอาหารและพลังงาน การเปลี่ยนแปลงสารอาหารระหวางการแปรรูป อาหารเพื่อสุขภาพ ฉลากโภชนาการ การคํานวณคุณคาทางอาหาร สภาวะทางโภชนาการสําหรับบุคคลใน ภาวะตางๆ ความตองการอาหารและสมดุลพลังงาน อาการและโรคที่เกิดจาก ความผิดปกติของการบริโภคอาหาร 2.2สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการวิชาการรวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการแก้ไขปัญหาและต่อยอดองค์ความรู้และมีความรู้ในแนวกว้างของสาขาวิชาที่ศึกษาเพื่อให้เล็งเห็นการเปลี่ยนแปลงและเข้าใจผลกระทบของเทคโนโลยีใหม่ๆ 2.3 สามารถบูรณาการความรู้ทางวิชาชีพกับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง เช่น อาหารเพื่อสุขภาพ ฉลากโภชนาการ การคํานวณคุณคาทางอาหาร สภาวะทางโภชนาการสําหรับบุคคลใน ภาวะตางๆ ความตองการอาหารและสมดุลพลังงาน อาการและโรคที่เกิดจาก ความผิดปกติของการบริโภคอาหาร  2.4 รู้กฎระเบียบ ข้อกำหนดทางเทคนิค รวมทั้งการปรับเปลี่ยนตามกาลเวลาเพื่อตอบสนองต่อสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป 3.1 มีทักษะทางปัญญาด้านโภชนาการสําหรับบุคคลใน ภาวะตางๆ ความตองการสารอาหารและสมดุลพลังงาน อาการและโรคที่เกิดจาก ความผิดปกติของการบริโภคอาหาร โภชนาการของบุคคลในภาวะต่าง ๆ 3.2 มีทักษะในการนำความรู้ความตองการอาหารและสมดุลพลังงาน อาการและโรคที่เกิดจากความผิดปกติของการบริโภคอาหาร มาคิดและใช้อย่างมีระบบในการค้นคว้าข้อมูลทางวิชาการด้านโภชนาการ และนำข้อมูลมา ประมวลและทบทวนเอกสารทางวิชาการด้านโภชนาการและอาหารเสริมสุขภาพ มานำเสนอได้อย่างเป็นขั้นตอนและถูกต้อง 3.3 สามารถใช้ทักษะและความเข้าใจ ในบริบททางวิชาชีพและวิชาการ เช่น การตรวจวิเคราะห์อาหาร การควบคุมและประกันคุณภาพ การวิจัย และงานอื่นๆที่เกี่ยวข้อง 3.4 มีทักษะในภาคปฏิบัติที่ได้รับการฝึกฝน ตามเนื้อหาสาระสำคัญของสาขาวิชา 4.1 มีมนุษย์สัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี 4.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม 4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม 4.4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม 5.1 เลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารได้เหมาะสมรวดเร็ว 5.2 สืบค้น ศึกษา วิเคราะห์และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม 5.3 สามารถใช้ภาษาไทยอย่างถูกต้องและภาษาอังกฤษเพื่อการเรียนรู้ได้อย่างเหมาะสม เลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม 5.4 ใช้ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ ในการสื่อสารได้อย่างถูกต้องตามกาลเทศะ และสอดคล้องกับวัฒนธรรมสากล 5.5 สามารถใช้คอมพิวเตอร์ในการจัดเก็บข้อมูลต่างๆ ได้อย่างเหมาะสม 5.6 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี
1 BSCFT013 โภชนาการ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1, 1.4, 4.2, 4.3 การเข้าชั้นเรียน การส่งรายงานตรงเวลา การแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน 1-15 10%
2 1.3, 2.3, 3.2, 4.2, 4.3 การมีส่วนร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน ทุกสัปดาห์ 5%
3 การทดสอบย่อย การทดสอบย่อย 2 - 16 5%
4 2.3, 3.2 การสอบกลางภาค (หน่วยที่ 1−3) - ไม่ทุจริตในการสอบ 9 30%
5 2.3, 3.2 การนำเสนองาน/การรายงาน 17 20%
6 2.3, 3.2 การสอบปลายภาค (หน่วยที่ 4−6) - ไม่ทุจริตในการสอบ 18 30 %
สิริพันธุ์  จุลกรังคะ.  2550.  โภชนศาสตร์เบื้องต้น.  พิมพ์ครั้งที่ 5. สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. กรุงเทพฯ.
อัญชลี ศรีจำเริญ.  2553. อาหารและโภชนาการ: การป้องกันและบำบัดโรค.  พิมพ์ครั้งที่ 1.  สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพมหานคร.  225 หน้า.
อัญชลี ศรีจำเริญ.  2555. อาหารเพื่อสุขภาพ: สารอาหารเชิงพันธภาพและกลไกการทำงาน.  พิมพ์ครั้งที่1 สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพมหานคร.  181 หน้า.
กองโภชนาการ กรมอนามัย.  2543.  ธงโภชนาการ.  คณะทำงานจัดทำข้อปฏิบัติการกินอาหารเพื่อสุขภาพที่ดีของคนไทย.  กรุงเทพฯ.
คณะกรรมการสวัสดิการกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข.  2545 .  ตารางแสดงคุณค่าทาง
          โภชนาการของอาหารไทย.  สำนักพิมพ์สามเจริญพาณิชย์ จำกัด.  กรุงเทพฯ.
นัยนา บุญทวียุวัฒน์.  2546.  ชีวเคมีทางโภชนาการ.  บริษัทบริษัท ซิกม่า ดีไซน์กราฟฟิก จำกัด. กรุงเทพฯ.
อบเชย วงศ์ทอง.  2542.  โภชนศาสาตร์ครอบครัว.  สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสาตร์.  กรุงเทพฯ.
Grosvenor, M.B. and L.A. Smolin.  2002.  Nutrition: from Science to life.  Fort Worth:    
           Harcourt Brace College Publisher. 
Henry, C.J. and C. Chapman, C. 2002.  The Nutrition Handbook for Food Processors.  Woodhead Publishing. USA.
Mahan, L.K., Escott-Stump, S.V: Krause's.  2000 Food Nutrition & Diet Therapy.  9thed. Phiadelphia, W.B. Saunders Company.
Smolin, L.A. and M.B. Grosvenor.  1994. Nutrition: Science and Applications.  Saunders College Publishing. USA.
Whitney, E. and S.R. Rolfes,  2005.  Understanding Nutrition. 10th ed. Thomson Learning, Inc. USA.
1.1  แบบประเมินประสิทธิผลของรายวิชาจากมหาวิทยาลัย ฯ โดยนักศึกษาเมื่อหมดภาคการศึกษา
1.2  แบบประเมินผู้สอนในแต่ละรายวิชาจากมหาวิทยาลัย ฯ โดยนักศึกษาเมื่อหมดภาคการศึกษา
1.3  แบบเสนอแนะ/ข้อคิดเห็น ในการจัดการเรียนการสอนแต่ละรายวิชา ที่ประเมินโดยนักศึกษา
 2.1  สาขาวิชาแต่งตั้งกรรมการประเมินการสอนของสาขาวิชา โดยมีหัวหน้าสาขาวิชา ในฐานะประธานหลักสูตรวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร และอาจารย์ประจำหลักสูตรอย่างน้อย 1 ท่าน เป็นผู้ทำหน้าที่ในการประเมินการสอน โดยการสุ่มรายวิชาอย่างน้อย 3 รายวิชา ที่เปิดสอนในแต่ละภาคการศึกษา
ในสาขาวิชามีแนวทางการปรับปรุงการสอน โดยอาจารย์ประจำหลักสูตรประชุมเพื่อกำหนดกลไกและวิธีการปรับปรุงการสอน โดยการประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน ร่วมกันเพื่อปรับปรุงเนื้อหาให้เหมาะสมกับระดับของนักศึกษาและทันต่อสถานการณ์ปัจจุบัน
    3.1  ปรับปรุงหลักสูตรให้ตอบสนองความต้องการของประเทศที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมอาหารและ ธุรกิจด้านอาหาร การเปลี่ยนแปลงของโลก โดยพัฒนาหลักสูตรทุก 5 ปี
    3.2  ปรับปรุงการสอนโดยเพิ่มเติมข้อมูลทางวิชาจากที่เป็นปัจจุบัน ทันสมัย และบูรณาการข้อมูลหรือความรู้ที่ได้จากงานวิจัย ข้อมูลจากการฝึกอบรมต่าง ร่วมกับข้อมูลที่นักศึกษาประเมิน ข้อมูลจาก มคอ.5 จากปีการศึกษาที่ผ่านมา และคำแนะนำจากอาจารย์ผู้ที่มีประสบการณ์การสอนรายวิชาจุลชีววิทยาอาหาร รวมถึงวิธีการสอน เพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ที่ดีขึ้นแก่นักศึกษา
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการประเมินผลคะแนนการนำเสนอรายงานกลุ่มหน้าชั้นเรียน และเปิดการอภิปรายในชั้นเรียน โดยยกตัวที่และที่ต้องปรับปรุงแก้ไข อธิบายทำความเข้าใจเป็นรายบุคคลหรือรายกลุ่ม และพิจารณาคะแนนสอบย่อย  สอบปฏิบัติการ การส่งรายงานปฏิบัติการสอบ
กลางภาคและสอบปลายภาคให้ได้ผลสัมฤทธิ์ตามมาตรฐานผลการเรียนรู้แต่ละด้าน
4.1  มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยคณะกรรมการบริหารหลักสูตร โดยกำหนดให้อาจารย์ผู้สอน มีการรายงานวิธีการที่ใช้ในการประเมิน เกณฑ์การประเมิน และผลการประเมินของนักศึกษา
4.2  คณะกรรมการบริหารหลักสูตร นำผลการเปรียบเทียบหารือและทำความเข้าใจกับอาจารย์ผู้สอน พร้อมทั้งหาแนวทางพัฒนา
จากผลการประเมินที่ได้ในข้อ 1 และ 2 นำมาวางแผนเพื่อปรับปรุง สอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้นปรับปรุงรายวิชาทุก3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตาม  ข้อ 4 รวมถึงการปรับปรุงรูปแบบของการสอนปฏิบัติการ ให้มีความหลากหลายและทันต่อสถานการณ์ปัจจุบัน
5.1  ปรับปรุงรายวิชาตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4.1 และข้อมูลจาก มคอ.5
5.2  สับเปลี่ยนอาจารย์ผู้สอน หรือจัดหาอาจารย์ผู้สอนท่านอื่นที่มีความเชี่ยวชาญเพิ่มเติมเพื่อร่วมสอนในรายวิชาดังกล่าว
โดยหากมีการเปลี่ยนแปลงการดำเนินการจะนำเสนอในที่ประชุมสาขาวิชา เพื่อพิจารณาต่อไป