ไมโครคอนโทรลเลอร์และการประยุกต์

Microcontroller and its Applications

1.1 เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจพื้นฐานในเรื่องไมโครคอนโทรลเลอร์ 1.2 เพื่อให้นักศึกษาสามารถนำความรู้ไปใช้ในการวิเคราะห์ และออกแบบ การควบคุมด้วยไมโครคอนโทรลเลอร์ 1.3 เพื่อให้นักศึกษานำหลักการของไมโครคอนโทรลเลอร์ไปประยุกต์ใช้ในงานควบคุม
 ในการปรับปรุงรายวิชา เพื่อต้องการให้นักศึกษามีความรู้ในวิวัฒนาการเรื่องไมโครคอนโทรลเลอร์  2.2  ในการปรับปรุงรายวิชา เพื่อต้องการให้นักศึกษามีความรู้และทันเทคโนโลยีไมโครคอนโทรลเลอร์และการเขียนโปรแกรม   
ศึกษาเกี่ยวกับสถาปัตยกรรม ชุดคำสั่ง การเขียนโปรแกรมภาษาระดับสูง การตรวจสอบและแก้ไขโปรแกรม ฮาร์ดแวร์ของระบบไมโครคอนโทรลเลอร์ การประยุกต์ใช้ไมโครคอนโทรลเลอร์ในการควบคุมและศึกษาเกี่ยวกับการติดต่อระหว่างซีพียูกับอุปกรณ์ภายนอก การทำงานของอุปกรณ์ภายนอก การออกแบบวงจรเชื่อมต่อ การเขียนโปรแกรมเชื่อมต่ออุปกรณ์ภายนอก
อาจารย์ประจำรายวิชา ประกาศเวลาให้คำปรึกษาผ่านบอร์ดติดประกาศของสาขาวิชา  -   อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคลหรือรายกลุ่มตามความต้องการ จำนวน 1 ชั่วโมง                   (เฉพาะรายที่ต้องการ)
(1)   เข้าใจและซาบซึ้งในวัฒนธรรมไทย ตระหนักในคุณค่าของระบบคุณธรรม จริยธรรม เสีย สละ และ ซื่อสัตย์สุจริต (2)   มีวินัย ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เคารพกฎระเบียบ และข้อบังคับต่างๆ ขององค์กรและสังคม (3)  มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพและมีความรับผิดชอบในฐานะผู้ประกอบวิชาชีพ   รวมถึงเข้าใจถึงบริบททางสังคมของวิชาชีพวิศวกรรมในแต่ละสาขา ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน 
(1)   เข้าใจและซาบซึ้งในวัฒนธรรมไทย ตระหนักในคุณค่าของระบบคุณธรรม จริยธรรม เสีย สละ และ ซื่อสัตย์สุจริต (2)   มีวินัย ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เคารพกฎระเบียบ และข้อบังคับต่างๆ ขององค์กรและสังคม (3)  มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพและมีความรับผิดชอบในฐานะผู้ประกอบวิชาชีพ   รวมถึงเข้าใจถึงบริบททางสังคมของวิชาชีพวิศวกรรมในแต่ละสาขา ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน 
(1)  การขานชื่อ การให้คะแนนการเข้าชั้นเรียนและการส่งงานตรงเวลา  (2)  พิจารณาจากผลการเข้าร่วมกิจกรรมของนักศึกษา  (3)  สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาในการปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ อย่างต่อเนื่อง
(1)   มีความรู้และความเข้าใจทางคณิตศาสตร์พื้นฐาน วิทยาศาสตร์พื้นฐาน วิศวกรรมพื้นฐาน และเศรษฐศาสตร์ เพื่อการประยุกต์ใช้กับงานทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง และการสร้างนวัตกรรมทางเทคโนโลยี (2)  มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการที่สำคัญ ทั้งในเชิงทฤษฎีและปฏิบัติ ในเนื้อหาของสาขา วิชาเฉพาะด้านทางวิศวกรรม 
(1)   มีความรู้และความเข้าใจทางคณิตศาสตร์พื้นฐาน วิทยาศาสตร์พื้นฐาน วิศวกรรมพื้นฐาน และเศรษฐศาสตร์ เพื่อการประยุกต์ใช้กับงานทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง และการสร้างนวัตกรรมทางเทคโนโลยี (2)  มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการที่สำคัญ ทั้งในเชิงทฤษฎีและปฏิบัติ ในเนื้อหาของสาขา วิชาเฉพาะด้านทางวิศวกรรม 
(1) ประเมินจากแบบทดสอบด้านทฤษฎี สำหรับการปฏิบัติประเมินจากผลงานและการปฏิบัติการ (2) การทดสอบย่อย  (3) พิจารณาจากรายงานที่มอบหมาย 
(1)  มีความคิดอย่างมีวิจารณญาณที่ดี (2)  สามารถคิด วิเคราะห์ และแก้ไขปัญหาด้านวิศวกรรมได้อย่างมีระบบ รวมถึงการใช้ข้อมูลประกอบ การตัดสินใจในการทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ (3)  สามารถสืบค้นข้อมูลและแสวงหาความรู้เพิ่มเติมได้ด้วยตนเอง เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิตและทันต่อ การเปลี่ยนแปลงทางองค์ความรู้และเทคโนโลยีใหม่ ๆ 
 (1) ประเมินจากการรายงานผลการดำเนินและการแก้ปัญหา (2) ประเมินผลจากการปฏิบัติการจากสถานการณ์จริง (3) ประเมินผลจากงานที่มอบหมาย 
รู้จักบทบาท หน้าที่ และมีความรับผิดชอบในการทำงานตามที่มอบหมาย ทั้งงานบุคคล และงานกลุ่ม สามารถปรับตัว และทำงานร่วมกับผู้อื่นทั้งในฐานะผู้นำ และผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถวางตัวได้อย่างเหมาะสมกับความรับผิดชอบ
รู้จักบทบาท หน้าที่ และมีความรับผิดชอบในการทำงานตามที่มอบหมาย ทั้งงานบุคคล และงานกลุ่ม สามารถปรับตัว และทำงานร่วมกับผู้อื่นทั้งในฐานะผู้นำ และผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถวางตัวได้อย่างเหมาะสมกับความรับผิดชอบ
(1) ประเมินจากการสอบภาคทฤษฎีและงานที่ได้รับมอบหมาย  (2) ติดตามการทำงานร่วมกับสมาชิกกลุ่มของนักศึกษาเป็นระยะ พร้อมบันทึกพฤติกรรมเป็นรายบุคคล
(1)  มีทักษะในการใช้คอมพิวเตอร์ สำหรับการทำงานที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพได้เป็นอย่างดี (2)  มีทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศทางคณิตศาสตร์หรือการแสดงสถิติประยุกต์ ต่อการแก้ ปัญหาที่เกี่ยวข้องได้อย่างสร้างสรรค์ (3)  สามารถใช้เครื่องมือการคำนวณและเครื่องมือทางวิศวกรรม เพื่อประกอบวิชาชีพในสาขาวิศวกรรม ที่เกี่ยวข้องได้   
1)  มีทักษะในการใช้คอมพิวเตอร์ สำหรับการทำงานที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพได้เป็นอย่างดี (2)  มีทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศทางคณิตศาสตร์หรือการแสดงสถิติประยุกต์ ต่อการแก้ ปัญหาที่เกี่ยวข้องได้อย่างสร้างสรรค์ (3)  สามารถใช้เครื่องมือการคำนวณและเครื่องมือทางวิศวกรรม เพื่อประกอบวิชาชีพในสาขาวิศวกรรม ที่เกี่ยวข้องได้   
(1) ประเมินผลจากคะแนนสอบกลางภาคและปลายภาคเรียน (2) ประเมินจากผลงาน และความสนใจต่อการเรียน
นักศึกษาสามารถต่อวงจร และเขียนโปรแกรมควบคุมตามโจทย์ที่ได้รับมอบหมาย
สาธิตและแนะนำการต่อวงจร พร้อมด้วยตัวอย่างประกอบการสอนภาคปฏิบัติ
กำหนดหัวข้อให้นักศึกษาปฏิบัติการทดลองด้วยการต่อวงจรและเขียนโปรแกรมควบคุม
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 ประกอบวงจรและเขียนโปรแกรมควบคุมเบื้องต้น สอบภาคทฤษฏีและปฏิบัติ 9 17 60%
2 ส่งงานตามที่ได้รับมอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 30%
3 การเข้าชั้นเรียน และการมีส่วนร่วม ตลอดภาคการศึกษา 10%
เอกสารประกอบการสอนวิชาไมโครโปรเซสเซอร์และการอินเตอร์เฟส  โดย  ผศ.กฤษดา ยิ่งขยัน 
Warren Gay, Beginning STM32, APress, 2018. Peter Marwedel, Embedded System Design, Springer, 2021.
Website ที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อในประมวลงานวิชาระบบสมองกลฝังตัว
 ให้นักศึกษาได้มีการประเมินผลการสอนของอาจารย์ในทุกด้าน ทั้งด้านทักษะกลยุทธ์การสอน การตรงต่อเวลา การชี้แจงเป้าหมาย วัตถุประสงค์รายวิชา ชี้แจงเกณฑ์การประเมินผลรายวิชาและการใช้ สื่อการสอนในรายวิชา
 
ให้นักศึกษาได้มีการประเมินผลการสอนของอาจารย์ในด้านทักษะกลยุทธ์การสอน และการใช้ สื่อการสอน
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดม สมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้ - ปรับปรุงสื่อการสอนคอมพิวเตอร์โดยใช้โปรแกรมช่วยแสดงผลการจำลองการเขียนโปรแกรม -  ยกตัวอย่างการระบบที่ใช้ระบบไมโครโปรเซสเซอร์ช่วยแสดงผลการจำลอง 
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการ เรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้ - การทวนสอ บการให้ คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์ อื่น หรือ ผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร - มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษาโดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม 
จากผลการประเมินและทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอน และรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้ - ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามขอเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4 - เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้เกี่ยวกับปัญหา ที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ