การผลิตโคนม

Dairy Cattle Production

1.1 มีความรู้ความเข้าใจในการผลิตโคนม
1.2 สามารถมีทักษะในการผลิตโคนม
1.3 สามารถนำความรู้ในการผลิตโคนม ไปประยุกต์ใช้ในการประกอบอาชีพเลี้ยงโคนม          การทำงานภาครัฐ ภาคเอกชน ตลอดจนการศึกษาต่อ
1.4 มีค่านิยมที่ดี มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักใน คุณค่าของคุณธรรมและจริยธรรม
 
เพื่อพัฒนากระบวนการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับ การปรับปรุงของหลักสูตร และกระตุ้นให้นักศึกษามีการพัฒนาการกระบวนการคิดอย่างเป็นระบบ
ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับความสำคัญและสภาพ ผลิตโคนมภายในประเทศ พันธุ์และการปรับปรุงพันธุ์ มาตรฐานฟาร์มโคนม โรงเรือนและอุปกรณ์ อาหารและการให้อาหาร การจัดการฝูงและการบริหารฟาร์มโคนม การจัดการของเสีย สุขศาสตร์และการจัดการสุขภาพฝูงโคนม The study and practice of importance and situation of dairy production in Thailand, breeds and breeding, farm standard, housing and equipment, feed and feeding management, herd and farm management, waste management, sanitation and herd health management.
มีคุณธรรมและจริยธรรม หมายถึง ศรัทธาในความดี มีหลักคิดและแนวปฏิบัติในทางส่งเสริมความดีและคุณค่าความเป็นมนุษย์ มีความรับผิดชอบ มีศีลธรรม ซื่อสัตย์สุจริตและสามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมอย่างสันติ
กำหนดให้มีวัฒนธรรมองค์กรเพื่อเป็นการปลูกฝังให้นักศึกษามีระเบียบวินัย โดยเน้นการเข้าชั้นเรียนให้ตรงเวลาตลอดจนการแต่งกายที่เป็นไปตามระเบียบของมหาวิทยาลัย นักศึกษาต้องมีความรับผิดชอบ โดยในการทำงานกลุ่มนั้นต้องฝึกให้รู้หน้าที่ของการเป็นผู้นำกลุ่มและการเป็นสมาชิกกลุ่ม มีความซื่อสัตย์โดยต้องไม่กระทำการทุจริตในการสอบหรือลอกการบ้านของผู้อื่น เป็นต้น นอกจากนี้อาจารย์ผู้สอนทุกคนต้องสอดแทรกเรื่องคุณธรรมจริยธรรมในการสอนทุกรายวิชารวมทั้งมีการจัดกิจกรรมส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม เช่น การยกย่องนักศึกษาที่ทำดีทำประโยชน์แก่ส่วนรวมและเสียสละ เป็นต้น
(1) ประเมินการมีวินัยจากการตรงเวลาของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที่มอบหมายและการเข้าร่วมกิจกรรมที่กำหนด
(2) ประเมินจากความพร้อมเพรียงของนักศึกษาในการเข้าร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตร
(3) ประเมินจากความซื่อสัตย์สุจริตในการทำงานที่ได้รับมอบหมายและการสอบ
(4) ประเมินจากความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
(5) ประเมินจากผลงานที่ไม่คัดลอกผลงานผู้อื่นหรือมีการอ้างอิงเอกสารทางวิชาการเพื่อให้เกียรติแก่เจ้าของผลงาน
(6) ประเมินจากพฤติกรรมในการทำงานในชั้นเรียนที่ไม่เลือกปฏิบัติและการไม่ละเมิดสิทธิของผู้อื่น
มีความรู้ในสาขาวิชาชีพ หมายถึง มีความรู้ ความเข้าใจ ในสาขาวิชาชีพที่เรียนอย่าง ถ่องแท้และเป็นระบบ ทั้งหลักการ ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้ความรู้ที่ทันสมัยในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง
ใช้การเรียนการสอนในหลากหลายรูปแบบโดยเน้นหลักการทางทฤษฎีและประยุกต์ทางปฎิบัติในสภาพแวดล้อมจริง โดยทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี ทั้งนี้ ให้เป็นไปตามลักษณะของรายวิชาตลอดจนเนื้อหาสาระของรายวิชานั้นๆ นอกจากนี้ควรจัดให้มีการเรียนรู้จากสถานการณ์จริงโดยมีการศึกษาดูงานหรือเชิญผู้เชี่ยวชาญที่มีประสบการณ์ตรงมาเป็นวิทยากรพิเศษเฉพาะเรื่อง ตลอดจนการฝึกปฏิบัติงานในสถานประกอบการ
(1) การทดสอบย่อย
(2) การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน
(3) ประเมินจากรายงานที่นักศึกษาจัดทำ
(4) ประเมินจากแผนงานหรือโครงการที่นำเสนอ
(5) ประเมินจากการนำเสนอรายงานในชั้นเรียน
(6) ประเมินจากรายวิชาฝึกงานหรือสหกิจศึกษา
สามารถคิดวิเคราะห์งานอย่างเป็นระบบ หมายถึง มีทักษะในการคิดวิเคราะห์อย่างมีเหตุผลและคิดแบบองค์รวม
(1) บทบาทสมมติ สถานการณ์จำลอง และกรณีศึกษาทางการเกษตร เพื่อค้นหาข้อเท็จจริง ทำความเข้าใจ ประเมินข้อมูลและหลักฐานใหม่ๆ จากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
(2) การอภิปรายกลุ่มเพื่อระดมความคิดวิเคราะห์ข้อมูลและประยุกต์ใช้ข้อมูลที่ได้มาหรือเลือกใช้ความรู้ที่เรียนมาแก้ไขโจทย์ปัญหาที่กำหนด
(3) ให้นักศึกษาปฏิบัติจริงเพื่อแก้ไขปัญหาสถานการณ์เฉพาะหน้า
(1) ประเมินจากผลงานการนำเสนอรายงานในชั้นเรียน
(2) การสัมภาษณ์หรือการสอบปากเปล่า
(3) การทดสอบโดยใช้แบบทดสอบหรือข้อสอบ
มีจิตอาสาและสำนึกสาธารณะ หมายถึง มีจิตสำนึกห่วงใยต่อสังคม สิ่งแวดล้อม และสาธารณสมบัติ มีจิตอาสา ไม่ดูดาย มุ่งทำประโยชน์ให้สังคม
(1) สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้
(2) มีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย
(3) สามารถปรับตัวเข้ากับสถานการณ์และวัฒนธรรมองค์กรที่ไปปฏิบัติงานได้    
(4) มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีกับผู้ร่วมงานในองค์กรและกับบุคคลทั่วไป
(5) มีภาวะผู้นำและผู้ตามในการยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
(6) สามารถวางตนได้เหมาะสมกับกาลเทศะ ขนบธรรมเนียมและแนวทางปฏิบัติเฉพาะของแต่ละวัฒนธรรม
ประเมินจากพฤติกรรมและการแสดงออกของนักศึกษาในการนำเสนอรายงานกลุ่มในชั้นเรียนและสังเกตจากพฤติกรรมที่แสดงออกในการร่วมกิจกรรมต่างๆ และความครบถ้วนชัดเจนตรงประเด็นของข้อมูล
มีทักษะทางเทคโนโลยีสารสนเทศ หมายถึง การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสมในการสื่อสารและค้นคว้าข้อมูลได้อย่างมีประสิทธิภาพ
จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรายวิชาต่างๆ ให้นักศึกษาได้วิเคราะห์สถานการณ์จำลองสถานการณ์เสมือนจริงหรือแก้ไขปัญหาจากกรณีศึกษาหรือในการปฏิบัติงานจริง แล้วนำเสนอการแก้ปัญหาที่เหมาะสม เรียนรู้ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และเทคโนโลยีสารสนเทศในหลากหลายสถานการณ์
(1) ประเมินจากเทคนิคการนำเสนอและการเลือกใช้เครื่องมือทางเทคโนโลยีสารสนเทศหรือทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขที่เกี่ยวข้องในการนำเสนอข้อมูล
(2) ประเมินจากความสามารถในการอธิบายถึงขั้นตอนการเก็บรวบรวมข้อมูล ข้อจำกัดเหตุผลในการเลือกใช้เครื่องมือต่างๆ ประมวลผลและแปลความหมาย
(3) การนำเสนอโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสม
-
-
-
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 หน่วยการเรียนรู้ 1-7 การทำงานกลุ่ม การนำเสนอ การปฏิบัติงาน ผลงานที่มีการสืบค้นอย่างถูกต้อง และส่งงานที่มอบหมาย ตามเวลาที่กำหนด 1-14 50
2 หน่วยการเรียนที่ 1 - 7 สอบกลางภาคและปลายภาค 8 และ 16 50
กองบำรุงพันธุ์สัตว์. 2551. การเลี้ยงโคนม. กรมปศุสัตว์ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. กรุงเทพฯ.
วิโรจน์  ภัทรจินดา  2546  โคนม  ภาควิชาสัตวศาสตร์  คณะเกษตรศาสตร์  มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ชวนิศนดากร  วรวรรณ  2530  การเลี้ยงโคนม  โรงพิมพ์ไทยวัฒนาพาณิช
Jan Holsen. 2013. Cow signals : a practical guide for dairy farm management. Rootbont publisher. Zutphen, The Nethertlands.
National Research Center. 2001. Nutrient Requirements of Dairy Cattle. 7th Revised Edition. National academy press. Washington, D.C.
สุณีย์รัตน์  เอี่ยมละมัย  2543  การผสมเทียมและการปรับปรุงพันธุ์โคนม  ภาควิชาศัลยศาสตร์และ
                                              วิทยาการสืบพันธุ์  คณะสัตวแพทย์ศาสตร์  มหาวิทยาลัยขอนแก่น
การประเมินประสิทธิผลรายวิชาน้ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ ดังนี้ 1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน 1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา 1.3 ข้อเสนอแนะ ผ่านเว็บบอร์ดของมหาวิทยาลัยฯ
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ ์ ดังนี้ 2.1 การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน 2.2 ผลการ เรียนของนักศึกษา 2.3 การทวนสอบผลประเมิน การเรียนเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ2. จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหา ข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน โดยสาขาวิชาจัดการสัมมนาการจัดการเรียนการสอนและหารือปัญหาการ เรียนรู้ของนักศึกษาและ ร่วมกันหาแนวทางแก้ไข
สาขาวิชามีคณะกรรมการประเมินข้อสอบและความเหมาะสมของการให้คะแนนและระดับขั้นคะแนน โดยการสุ่มรายวิชา
อาจารย์ผู้สอนรวบรวมผลการประเมินการสอนโดยนักศึกษา คะแนนสอบ พฤติกรรมของนักศึกษา รวมท้้งข้อคิดเห็นเพิ่มเติมจากอาจารย์ผู้ร่วมสอนท้ั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ เพื่อประกอบการวิเคราะห์ปัญหา ทบทวน เนื้อหาและกิจกรรม และหากมีการเปลียนแปลงการดำเนินการในรายละ เอียดที่จำเป็น จะมีการนำเสนอ ในทุกปีต่อการประชุมในสาขาวิชาวิชาเพื่อพิจารณาร่วมกันต่อไป จากผลการประเมินและทวนสอบผล สัมฤทธิประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อ ให้เกิดคุณภาพมากขึน ดังนี้ 5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปีหรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิตามข้อ4. 5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเร่อื งการประยุกต์ความรู้น้กี ับปัญหาท่มี าจากงานวิจัย ของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง