สุนทรียภาพและความงอกงามของมนุษย์

Aesthetics and Human Growth

1. เพื่อศึกษาเกี่ยวกับความรู้เบื้องต้นด้านสุนทรียภาพ
2. เพื่อให้เข้าใจคุณคุ่าและความงามของสิ่งต่าง ๆที่เกี่ยวข้องกับชีวิตมนุษย์
3. เพื่อวิเคราะห์ความงามของมนุษย์ในทัศนะของโลกตะวันออกและโลกตะวันตก 
4. เพื่อให้สามารถดำเนินชีวิตอย่างมีความหมายในโลกที่เปลี่ยนแปลง
1.เพื่อปลูกผังให้ผู้เรียนมีจริยธรรม รู้จักและเข้าใจตนเอง สร้างเสริมสมรรถภาพทางกายและบุคลิกภาพ มีวินัย กล้าแสดงออก มีจิตสาธารณะ และสามารถทำงานเป็นหมู่คณะ
2.เพื่อพัฒนาให้ผู้เรียนมีทักษะด้านภาษา สามารถใช้ภาษาในการสื่อสารได้ถูกต้องและนำประยุกต์ใช้ได้อย่างเหมาะสม
3.เพื่อเสริมสร้างให้ผู้เรียนมีทักษะทางปัญญา มีความคิดสร้างสรรค์ คิดอย่างเป็นระบบ 
4.เพื่อส่งเสริมให้ผ้เรียนมีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ใฝ่รู้ แสวงหาความรู้อย่างต่อเนื่อง โดยเป็นไปตามคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์
5.ปลูกฝังให้ผู้เรียน มีทักษะการทำงาน (Skill)  ความรู้ (Knowledge) ทักษะทางสังคม (Social skill)  และคุณธรรม จริยธรรม (Ethics)
           ศึกษาเกี่ยวกับความรู้เบื้องต้นด้านสุนทรียภาพ การมองเห็นคุณค่าและความงามของสิ่งต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับชีวิตมนุษย์ ความงอกงามของมนุษย์ในทัศนะของโลกตะวันออกและโลกตะวันตก  และการดำเนินชีวิตอย่างมีความหมายในโลกที่เปลี่ยนแปลง
           Study and  Understand fundamental of aesthetics, perception of value and beauty of various aspects related to human life. human growth in the views of Eastesrn and Western concepts and learn to live meaningfully in a changing world.
3   ชั่วโมง
(1) มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
(2) มีจรรยาบรรณทางวิชากรหรือวิชาชีพ
(3) มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และคามรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
(4) เคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
 
(1) สอดแทรกเนื้อหาที่เกี่ยวข้องกับจรรยาวิชา
(2) ส่งเสริมให้นักศึกษามีจิตสาธารณะ
(3) สนับสนุนให้นักศึกษาเข้าร่วมในการให้บริกาารวิชาการและวิชาชีพแก่วังคม
(4) ปลูกจิตสำนึกในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
(5) ยกย่องและเชิดชุนักศึกษาที่ทำความดีและเสียสละ
(1) การตรงเวลาของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที่มอบหมาย และการเข้าร่วมกิจกรรม
(2) ความมีวินัยและความส่ใจของนักศึกษาในการเข้าร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตร
(3) ความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
(4) ความซื่อสัตย์สุจริตในการทำงานที่ได้รับมอบหมายและการสอบ
 
(1) มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
(2) สามารถติดตามความก้าวหน้า ใฝ่รู้ ทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
(3) สามารถบูรณาการความรู้ทางวิชาชีพกับความรู้ในศาสตร์อื่น  ๆ ที่เกี่ยวข้อง
(1) ใช้รูปแบบการเรียนการสอนที่หลายหลายโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ 
(2) ใช้การูรณาการการเรียนการสอนกับการทำงาน (Work-Integrated Learning : WiL)
(3) จัดให้มีการเรียนรู้จากสถานการณ์จริง
(1) การทดสอบย่อย
(2) การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน
(3) รายงานที่นักศึกษาจัดทำ
(4) งานที่ได้รับมอบหมาย
(5) การนำเสนอรายงานในชั้นเรียน
(6) แฟ้มสะสมผลงาน
(1) มีทักษะในการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
(2) มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
 
(1) ใช้การเรียนการสอนที่ปลากหลายโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
(2) การบูรณาการการเรียนการสอนกับการทำงาน 
(3) มุ่งเน้นให้นักศึกษารู้จักวิเคราะห์องค์ประกอบของสถานการ์ต่าง ๆ 
(1) บทบาทสมมติจากสถานการณ์จำลอง
(2) การเลือกใช้วิธีการเพื่อแก้ไขปัญหาในบริบทต่าง ๆ 
(3) การนำเสนอรายงานในชั้นเรียน
(4) การทดสอบโดดยใช้แบบทดสอบหรือสัมภาษณ์
(1) มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
(2) มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม
(3) สามารถทำงานเป็นทีมและแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
(4) สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
(1) สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี
(2) มีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย
(3) สามารถปรับตัวเข้ากับสถานการณ์และวัฒนธรรมองค์กรได้เป็นอย่างดี
(4) มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี
(5) มีภาวะความเ็นผุ้นำและผู้ตาม
(6) มีความรู้เกี่ยวกับวัฒนธรรมของบุคคลที่ติดต่อสื่อสารด้วย และสามารถวางตนได้เหมาะสมกับกาลเทศะ ขนบธรรมเนียนมและแนวทางปกิบัติเฉพาะของแต่ละวัฒนธรรม
(1) พฤติกรรมและการแสดงออกของนักศึกษาในการนำเสนอรายงกานกลุ่มในชั้นเรียน
(2) พฤติกรรมที่แสดงออกในการร่วมกิจกรรมต่าง ๆ 
(1) เลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารได้เหมาะสม
(2) สืบค้น ศึกษา วิเคราะห์และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
(3) ใช้ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ ในการสื่อสารได้อย่างถูกต้องตามกลเทศะและสอดคล้องกับวัฒนธรรมสากล
(1) ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเครื่องมือในการต่ิดต่อสื่อสาร
(2) ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเครื่องมือในการค้นคว้าหาข้อมูล
(3) ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเครื่องมือในการนำเสนอผลงาน
(4) ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างถูกต้อง เหมาะสมกับขนบธรรมเนียมปฏิบัติของสังคมแต่ละกลุ่ม
(1) ความสามารถในการใช้เทคโนลยีสารสนเทศในการติดต่อสื่อสาร
(2) ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการศึกษาค้นคว้าหาข้อมูล
(3) ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนอผลงาน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. ด้านคุณธรรมจริยธรรม 2.ด้านความรู้ 3.ด้านปัญญา 4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3
1 GEBIN704 สุนทรียภาพและความงอกงามของมนุษย์
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 เกิดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสุนทรียภาพ ชิ้นงาน 3 10
2 การเห็นคุณค่าและความงามของสิ่งต่าง ๆ การนำเสนอ 6 10
3 สอบกลางภาค สอบ 9 20
4 ความงามในโลกตะวันออกและโลกตะวันตก ชิ้นงาน 12 20
5 การสร้างความสุข ชิ้นงาน 15 10
6 สอบปลายภาค สอบ 17 20
7 จิตพิสัย 15 10
กำจร   สุนพงษ์ศรี. (2556). สุนทรียศาสตร์ หลักปรัชญาศิลปะ ทฤษฎีทัศนศิลป์ศิลปวิจารณ์. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
โกสุม   สายใจ. (2544) สุนทรียภาพของชีวิต. กรุงเทพฯ : โครงการศูนย์หนังสือมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต.
ประเสริฐ ศิลรัตนา. (2542). สุนทรียะทางทัศนศิลป์. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์
ลักษณวัต   ปาละรัตน์. (2551). สุนทรียศาสตร์. กรุงเทพฯ : ภาควิชาปรัชญา มหาวิทยาลัยรามคำแหง
วิรุณ   ตั้งเจริญ. (2552). สุนทรียภาพเพื่อชีวิต. กรุงเทพฯ : สันติศิริ
สุชาติ   สุทรธิ. (2542) สุนทรียภาพของชีวิต. กรุงเพทพฯ : เสมาธรรม