สัญญาณและระบบ

Signal and System

1. เพื่อปูพื้นฐานความเข้าใจเกี่ยวกับสัญญาณและระบบ
2. เพื่อพัฒนาทักษะการวิเคราะห์สัญญาณและระบบ
3. เพื่อพัฒนาทักษะการประยุกต์ใช้สัญญาณและระบบ
4. เพื่อพัฒนาทักษะการคิดเชิงวิพากษ์
5. เพื่อพัฒนาทักษะการทำงานเป็นทีม
1. เพื่อให้สอดคล้องกับความก้าวหน้าของเทคโนโลยี
2. เพื่อให้เหมาะสมกับบริบทของสังคมและอุตสาหกรรม
3. เพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพ
4. เพื่อให้รายวิชามีคุณลักษณะตามมาตรฐานการศึกษา
5. เพื่อให้รายวิชามีความเป็นสากล
ศึกษาเกี่ยวกับ สัญญาณและระบบต่อเนื่องทางเวลาและไม่ต่อเนื่องทางเวลา ระบบ เชิงเส้นและไม่แปรตามเวลา การวิเคราะห์สัญญาณโดยใช้การแปลงฟูเรียร์ การแปลง ลาปลาซ และ การแปลงซี การประยุกต์สัญญาณและระบบ เทคนิคทันสมัยในการ วิเคราะห์สัญญาณ และระบบ 
3 ชั่วโมง
1.1.1 เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม
1.1.2 ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต
1.2.1 สอดแทรกในการบรรยาย
1.2.2 การเข้าเรียนตรงเวลา ส่งงานที่มอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา 
1.3.1 พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
1.3.2 ปริมาณการทุจริตในการสอบ
1.3.3 ประเมินผลการนำเสนอรายงานที่มอบหมาย
2.1.1 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่สำคัญในเนื้อหาสาขาวิศวกรรม
2.1.2 nสามารถวิเคราะห์ ออกแบบ ติดตั้ง ปรับปรุงและ/หรือประเมินระบบองค์ประกอบต่าง ๆ ของระบบคอมพิวเตอร์ให้ตรงตามข้อกำหนด
บรรยาย และซักถาม การฝึกปฏิบัติ
การทดสอบย่อย การสอบกลางภาค และปลายภาค รวมไปถึงตรวจสอบกระบวนการคิดจากโจทย์การบ้านและผลของงานที่มอบหมาย
3.1.1 สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และสรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ
3.1.2 สามารถประยุกต์ความรู้และทักษะกับการแก้ไขปัญหาทางคอมพิวเตอร์ได้อย่างเหมาะสม 
บรรยาย อภิปรายกลุ่ม ซักถามจากกรณีตัวอย่างโจทย์
3.3.1 สอบกลางภาคและปลายภาค  โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์ หรือการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
3.3.2 ตรวจสอบกระบวนการคิดของนักศึกษาจากการทำข้อสอบ หรือปัญหาการบ้าน
4.1.1 สามารถให้ความช่วยเหลือและอำนวยความสะดวกแก่การแก้ปัญหาสถานการณ์ต่าง ๆ ในกลุ่มทั้งในบทบาทของผู้นำ หรือในบทบาทของผู้ร่วมทีมทำงาน  
4.1.2 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาชี้นำสังคมในประเด็นที่เหมาะสม  
4.1.3 มีความรับผิดชอบในการกระทำของตนเองและรับผิดชอบงานในกลุ่ม  
4.1.4 สามารถเป็นผู้ริเริ่มแสดงประเด็นในการแก้ไขสถานการณ์ทั้งส่วนตัวและส่วนรวม พร้อมทั้งแสดงจุดยืนอย่างพอเหมาะทั้งของตนเองและของกลุ่ม  
4.1.5 มีความรับผิดชอบการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเองและทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
ให้งานทำเป็นกลุ่ม
5.1.1 มีทักษะในการใช้เครื่องมือที่จำเป็นที่มีอยู่ในปัจจุบันต่อการทำงานที่เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์  
5.1.2 สามารถแนะนำประเด็นการแก้ไขปัญหาโดยใช้สารสนเทศทางคณิตศาสตร์หรือการแสดงสถิติประยุกต์ต่อปัญหาที่เกี่ยวข้องอย่างสร้างสรรค์  
5.1.3 สามารถสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพทั้งปากเปล่าและการเขียน เลือกใช้รูปแบบของสื่อการนำเสนออย่างเหมาะสม  
5.1.4 สามารถใช้สารสนเทศและเทคโนโลยีสื่อสารอย่างเหมาะสม
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 คุณธรรม จริยธรรม โดยการสังเกต ตลอดภาคการศึกษา 10 %
2 ความรู้ สักถาม อภิปราย การทำแบบฝึกหัด ตลอดภาคการศึกษา 25 %
3 ทักษะทางปัญญา การสอบ สอบกลางภาคและปลายภาค 50 %
4 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างตัวบุคคลและความรับผิดชอบ และทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ตรวจสอบรายงานกลุ่มและการจดบันทึกและแบบฝึกหัด 14 15 %
หนังสือสัญญาณและระบบ
1. ฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ของสถาบัน
2. แหล่งข้อมูลสืบค้นบน Internet
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา
แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชาโดยผ่านเว็บของสำนักทะเบียนและประมวลผล
1.) ผลการเรียนของนักศึกษา ผลการสอบ 2.) การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
1.) สัมมนาการจัดการเรียนการสอน 2.) การประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้ 4.1) การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร 4.2) มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้ 5.1) ปรับปรุงรายวิชาทุก 4 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4 5.2) เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ