การสำรวจเพื่องานเกษตรและการก่อสร้างอาคารฟาร์ม

Surveying for Agricultural and Construction of Farm Buildings

1 ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับเครื่องมืองานสำรวจ การสำรวจเพื่อทำระดับ การทำแผนที่คอนทัวร์ การคำนวณงานดิน และการปรับพื้นที่ การวงผังคูระบายน้ำและการส่งน้ำ
2 ศึกษาองค์ประกอบและโครงสร้างอาคารเกษตร การเลือกใช้วัสดุงานก่อสร้างอาคารฟาร์ม การกำหนดปริมาณงานก่อสร้าง การประมาณราคาก่อสร้างอาคารเพื่อการเกษตรเบื้องต้น 
ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับเครื่องมืองานสำรวจ การสำรวจเพื่อทำระดับ การทำแผนที่คอนทัวร์ การคำนวณงานดิน และการปรับพื้นที่ การวงผังคูระบายน้ำและการส่งน้ำ องค์ประกอบและโครงสร้างอาคารเกษตร การเลือกใช้วัสดุงานก่อสร้างอาคารฟาร์ม การกำหนดปริมาณงานก่อสร้าง การประมาณราคาก่อสร้างอาคารเพื่อการเกษตรเบื้องต้น
1.  ด้านคุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา š 1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม š 1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ ˜ 1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม š1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1. กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process)
2. การเรียนแบบแก้ปัญหา (Problem-solving)
3. การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มย่อย (Small - Group Discussion)
4. การสอนฝึกปฏิบัติการ  
5. การสอนแบบกรณีศึกษา (Case Studies)
6. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม  (Participatory Learning)
7. การสอนในห้องปฏิบัติการ  
8. การสอนแบบบรรยาย  
1.งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
2.สถานการณ์จำลอง
3.การเขียนบันทึก
4.โครงการกลุ่ม
5.การสังเกต
6.การนำเสนองาน
7.การประเมินตนเอง
8.การประเมินโดยเพื่อน
2.  ด้านความรู้ที่ต้องได้รับ
˜ 2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
™ 2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
™ 2.3 สามารถบูรณาการ
ความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
1. กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process)
2. การเรียนแบบค้นพบ   (Discovery Learning)
3. การเรียนแบบแก้ปัญหา (Problem-solving)
4. การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มย่อย (Small - Group Discussion)
5. การสอนโดยการอภิปรายกลุ่มแบบต่าง ๆ (Panel, Forum, Symposium, Seminar) 
6. การสอนแบบ Tutorial Group
7. การสอนฝึกปฏิบัติการ  
8. การสอนแบบกรณีศึกษา (Case Studies)
9. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม  (Participatory Learning)
10. การสอนในห้องปฏิบัติการ  
11. การสอนแบบบรรยาย  
แบบทดสอบวัดด้านการปฏิบัติ
1.การประเมินตนเอง
1.การประเมินโดยเพื่อน
3.  ด้านทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา 
˜ 3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
™ 3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
1. กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process)
2. การเรียนแบบค้นพบ   (Discovery Learning)
3. การเรียนแบบแก้ปัญหา (Problem-solving)
4. การสอนฝึกปฏิบัติการ  
5. การสอนแบบกรณีศึกษา (Case Studies)
6. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม  (Participatory Learning)
7. การสอนในห้องปฏิบัติการ  
8. การสอนแบบบรรยาย  
1.งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
2.สถานการณ์จำลอง
3.แฟ้มสะสมงาน
4.การเขียนบันทึก
5.โครงการกลุ่ม
6.นิทรรศการ
7.การสังเกต
8.การนำเสนองาน
9.การฝึกตีความ
10.ข้อสอบอัตนัย
11. ข้อสอบปรนัย
12.แบบทดสอบวัดด้านการปฏิบัติ
13.การประเมินตนเอง
14.การประเมินโดยเพื่อน
4.  ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา
š 4.1  มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
š 4.2  มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
˜ 4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
š 4.4  สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
1. การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มย่อย (Small - Group Discussion)
2. การสอนโดยการอภิปรายกลุ่มแบบต่าง ๆ (Panel, Forum, Symposium, Seminar) 
3. การสอนแบบ Tutorial Group
4. การสอนแบบกรณีศึกษา (Case Studies)
5. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม  (Participatory Learning)
6. การสอนในห้องปฏิบัติการ  
7. การสอนฝึกปฏิบัติการ  
8. การสอนแบบบรรยาย  
4.การสังเกต
5.การนำเสนองาน
6.การประเมินตนเอง
7.การประเมินโดยเพื่อน
5.  ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร  และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา
š 5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
š 5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง
บรรยาย
การนำเสนองานด้วยวิธีโปสเตอร์ และวาจา
1.แฟ้มสะสมงาน
2.การเขียนบันทึก
3.โครงการกลุ่ม
4.นิทรรศการ
5.การสังเกต
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา
1 BSCFM203 การสำรวจเพื่องานเกษตรและการก่อสร้างอาคารฟาร์ม
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.1., 3.1. สอบกลางภาค สอบกลางภาค และปลายภาค โดยการสอบตามหัวข้อผลการเรียนรู้ที่ได้กำหนดไว้ 7 17 20% 20% งานมอบหมายและสอบปฏิบัติ 60 เปอร์เซ็นต์
1. หนังสือ ตำรา และเอกสารประกอบการสอนหลัก 
คณาจารย์ผู้สอนวิชาทักษะช่างเกษตร.  2529.  ชุดแบบเรียนวิชาทักษะช่างเกษตร.  สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล,  กรุงเทพมหานคร.
ประณต กุลประสูตร.  2525.  ช่างฝีมือเบื้องต้น 1(เทคนิคงานไม้).  สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขตปทุมธานี,  ปทุมธานี.
ประณต กุลประสูตร.  2527.  ช่างฝีมือเบื้องต้น 2(เทคนิคงานปูน-คอนกรีต).  สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขตปทุมธานี,  ปทุมธานี.
ประณต กุลประสูตร.  2527.  ช่างฝีมือเบื้องต้น 3(เทคนิคงานประปา).  สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขตปทุมธานี,  ปทุมธานี.
ประณต กุลประสูตร.  2527.  ช่างฝีมือเบื้องต้น 4(เทคนิคงานสี).  สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขตปทุมธานี,  ปทุมธานี.
พนม ภัยหน่วย.  2526.  เทคนิคงานไม้เบื้องต้น.  โอเดียนสโตร์,  กรุงเทพมหานคร.
พิภพ สุนทรสมัย.  2527.ช่างปูนก่อสร้าง.  สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี(ไทย-ญี่ปุ่น),  กรุงเทพมหานคร.
พิภพ สุนทรสมัย.  2528.  ปฏิบัติการเขียนแบบก่อสร้าง.  สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี(ไทย-ญี่ปุ่น),  กรุงเทพมหานคร.
พิภพ สุนทรสมัย.  2534.  การประมาณราคาก่อสร้าง.  สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี(ไทย-ญี่ปุ่น),  กรุงเทพมหานคร.
1. กลยุทธ์การประเมินประสิทธิผลของรายวิชาโดยนักศึกษา
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้

การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด  ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
2. กลยุทธ์การประเมินการสอน
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
3. การปรับปรุงการสอน
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2   การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
4.การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชา
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
5. การดำเนินการทบทวนและวางแผนปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชา
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ