การจัดการคุณภาพและการเพิ่มผลผลิตในองค์การ

Quality Management and Productivity in the Organization

ประวัติและพัฒนาการของการจัดการคุณภาพ ความหมายของคุณภาพ แนวคิดพื้นฐานของการจัดการคุณภาพ การออกแบบของการควบคุมคุณภาพ วงจรคุณภาพเทคนิคและเครื่องมือต่าง ๆ ทางสถิติที่นำมาใช้ในการควบคุมคุณภาพ การบริหารองค์การเพื่อเพิ่มผลผลิต การวัดการเพิ่มผลผลิต เทคนคิและเครื่องมือพื้นฐานในการปรับปรุงการเพิ่มผลผลิตในองค์การ ผลที่ได้รับจากการเพิ่มผลผลิตต่อพนักงานองค์การและภาพรวมในระดับประเทศ
คาบกิจกรรม และช่องทางออนไลน์
1.  มีความรู้ความเข้าใจในหลักจริยธรรม คุณธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพทางธุรกิจ มีจิตสำนึกสาธารณะ ตระหนักในคุณค่าของคุณธรรมจริยธรรมเสียสละ ไม่เอารัดเอาเปรียบ ซื่อสัตย์สุจริตต่อตนเองและผู้อื่น
2.  มีความพอเพียง มีวินัย ขยัน อดทน เพียรพยายาม ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเอง วิชาช่ีพสังคมส่วนรวมและสิ่งแวดล้อม มีความสำนึกรับผิดชอบต่อส่วนรวมและสิ่งแวดล้อม
3.  มีความเคารพต่อกฎระเบียบ และข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม
4.  มีทัศนคติที่ดีต่อวิชาชีพ เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
5.  สามารถปฏิบัติงานโดยใช้องค์ความรู้และประสบการณ์ในศาสตร์ที่ศึกษามาใช้เป็นแนวทางในการดำเนินงานเพื่อสนับสนุนการดำเนินงานของธุรกิจ นำมาใช้แก้ไขปัญหา ค้นคว้าวิจัย ตลอดจนพัฒนาตนเอง ชุมชน และสังคมได้อย่างถูกต้อง  
2.1.1 มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการ ทฤษฎี และการปฏิบัติที่สำคัญในเนื้อหาของสาขาวิชาที่ศึกษา สามารบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องได้อย่างเหมาะสมและพัฒนาความรู้ ติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการได้อย่างต่อเนื่อง
2.1.2  มีความรู้และความเข้าใจในสาระสำคัญของศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง ประยุกต์ใช้ความรู้ ทักษะ ในการวิเคราะห์ปัญหา เข้าใจและอธิบายความต้องการที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาที่ศึกษา รวมทั้งประยุกต์ความรู้ทักษะและสามารถเลือกใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับการแก้ปัญหาและการดำรงชีวิตประจำวัน
2.1.3  สามารถสืบค้น ตีความ วิเคราะห์ข้อมูล และประเมินสารสนเทศ จากหลายแหล่ง เพื่อใช้ในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ ตามสถานการณ์แวดล้อมทางธุรกิจ และการตัดสินใจใอย่างเหมาะสมด้วยตนเอง
2.1.4  สามารถสื่อสารทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศกับกลุ่มคนหลากหลายได้อย่างมีประสิทธิภาพ
2.1.5  สามารถประยุกต์ใช้หลักคณิตศาสตร์ สถิติ การวิเคราะห์เชิงปริมษร มาใช้ในการวิเคราะห์และตัดสินใจทางธุรกิจ และชีวิตประจำวัน
2.1.6  สามารถสื่อสารเพื่ออธิบาย และสร้างความเข้าใจ โดยใช้รูปแบบของสื่อเทคนิควิธีการ เครื่องมือ สื่อสารและเทคโนโลยีได้อย่างถูกต้อง ทั้งในรูปแบบการเขียนรายงาน และการนำเสนอด้วยวาจาที่เหมาะสมอย่างมีประสิทธิภาพและสร้างสรรค์
2.1.7 สามารถปฏิบัติงานโดยนำองค์ความรู้มาบูรณาการร่วมกับศาสตร์ที่ศึกษาได้อย่างเหมาะสม
 
3.1.1 มีความรู้และความเข้าใจในสาระสำคัญเกี่ยวกับกระบวนการบริหารธุรกิจ ในด้านการวางแผนการจัดโครงสร้างองค์การ การปฏิบัติการ การควบคุมและผลการดำเนินงาน รวมทั้งการปรับปรุงแผนงานให้สอดคล้องกับสถานการณ์
3.1.2 สามารถคิดค้นทางเลือก วิเคราะห์ทางเลือก และผลกระทบจากทางเลือกอย่างรอบด้าน มีความสามารถในการตัดสินใจเลือกทางเลือกที่สอดคล้องกับสถานการณ์ ทำให้เกิดการได้เปรียบทางการแข่งขันทางธุรกิจ
3.1.3 คิดอย่างมีวิจารณญาณและเป็นระบบ สร้างสรรค์และมีเหตุผล สามารถบูรณาการความรู้จากสาขาวิชาชีพที่ศึกษา และประสบการณ์เพื่อใช้ในการแก้ปัญหาทางธุรกิจและสถานการณ์ทั่วไป
3.1.4  มีความสามารถในการแสดงความคิดริเริ่ม แสดงความคิดเห็นต่าง ๆ และแสดงความคิดเห็นใหม่ ๆ ได้อย่างสร้างสรรค์ เอื้อต่อการแก้ไขปัญหาของทีม สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
3.1.5 สามารถแนะนำประเด็นการแก้ปัญหาโดยใช้สารสนเทศทางคณิตศาสตร์หรือการแสดงสถิติประยุกต์ต่อปัญหาที่เกี่ยวข้องอย่างสร้างสรรค์
3.1.6 สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างเหมาะสม และสามารถนำเทคโนโลยีไปใช้สนับสนุนการดำเนินงานของธุรกิจได้อย่างมีประสิทธิภาพสามรถใช้สารสนเทศ
3.1.7  สามารถปฎิบัติงานโดยกใช้ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์อย่างเป็นระบบ แก้ปัญหาเชิงบูรณาการได้ด้วยการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ ตีความ อย่างมีเหตุผล
1. กรณีศึกษาทางการจัดการ โครงงาน งานวิจัย และกำหนดให้นักศึกษาวางแผนการทำงานเป็นทีม 2. ใช้สถานประกอบการฝึกปฏิบัติงานจริง 3. มีการอภิปรายเพื่อสรุปประเด็นผลการศึกษาและปัญหาที่เกิดขึ้น รวมทั้งการเสนอแนวทางการแก้ไข 4. เน้นถึงศาสตร์และศิลป์รวมถึงรูปแบบในการนำเสนอผลงาน แลให้นักศึกษานำเสนอผลงานจริง
1.ประเมินจากการนำเสนอโครงงาน รายงานการวิจัย อภิปรายกรณีศึกษา 2. ประเมินจากการทดสอบโดยใช้แบบทดสอบ โดยออกข้อสอบที่ให้นักศึกษาแก้ปัญหา อธิบายแนวคิดการแก้ปัญหา และวิธีการแก้ปัญหา โดยการประยุกต์ความรู้ที่เรียนมาซึ่งจะต้องหลีกเลี่ยงข้อสอบที่เป็นการเลือกตอบที่ถูกมาคำตอบเดียวจากกลุ่มคำตอบที่ให้มา 3. ประเมินจากผลงานและการปฏิบัติงานของนักศึกษา
1. มอบหมายงานที่ต้องใช้การติดต่อประสานงานกับบุคคลอื่นๆ ทั้งภายในและภายนอกสถาบันการศึกษา 2. มีการมอบหมายงานที่ต้องใช้ทักษะด้านการสื่อสารระหว่างบุคคลทั้งภายในสถาบันการศึกษาและภายนอกสถาบันการศึกษา 3. มีการมอบหมายงานที่ต้องใช้การระดมความคิดและร่วมกันทำงาน 4. มีกิจกรรมส่งเสริมมนุษยสัมพันธ์ 
1. ประเมินจากพฤติกรรมในการทำกิจกรรมระหว่างนักศึกษาในกลุ่ม 2. ประเมินจากผลงานของนักศึกษาทั้งรายบุคคลและรายกลุ่ม 3. มีการร่วมประเมินทั้งอาจารย์และนักศึกษา
5.1 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา 
5.1 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา  5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่ต้องพัฒนา (Numerical Analysis, Communication and Information Technology Skills) š5.1สามารถประยุกต์ใช้หลักคณิตศาสตร์ สถิติและการวิเคราะห์เชิงปริมาณมาใช้ในการวิเคราะห์และตัดสินใจทางธุรกิจ และชีวิตประจำวัน š5.2 สามารถสื่อสารเพื่ออธิบาย และสร้างความเข้าใจ โดยใช้รูปแบบของสื่อเทคนิควิธีการ เครื่องมือสื่อสารและเทคโนโลยีได้อย่างถูกต้อง ทั้งในรูปแบบการเขียนรายงาน และการนำเสนอด้วยาจาที่เหมาะสมอย่างมีประสิทธิภาพ และสร้างสรรค์ š5.3 สามารถสื่อสารภาษาไทยและภาษาต่างประเทศที่จำเป็นต่อการทำธุรกิจได้อย่างมีประสิทธิภาพ š5.4 มีทักษะการใช้เครื่องมือที่จำเป็นที่มีอยู่ในปัจจุบันต่อการทำงานที่เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ š5.5 สามารถแนะนำประเด็นการแก้ปัญหาโดยใช้สารสนเทศทางคณิตศาสตร์หรือการแสดงสถิติประยุกต์ต่อปัญหาที่เกี่ยวข้องอย่างสร้างสรรค์ š5.6 สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างเหมาะสม และสามารถนำเทคโนโลยีไปใช้สนับสนุนการดำเนินงานของธุรกิจได้อย่างมีประสิทธิภาพ   แก้ไข
1.จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรายวิชาต่าง ๆ ให้นักศึกษาได้วิเคราะห์สถานการณ์จำลองหรือสถานการณ์เสมือนจริง และนำเสนอแนวทางแก้ปัญหาที่เหมาะสม 2. ให้นักศึกษาได้เรียนรู้เทคนิคการประยุกต์ การวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อการตัดสินใจในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้ 3. มีการนำเสนอผลงานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
1.ประเมินจากการอธิบายหลักการเข้าถึงข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ 2. ประเมินจากการสรุปและอภิปรายงานที่ได้รับมอบหมายร่วมกัน 3. ประเมินจากผลงานและการนำเสนอผลงานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ 4. ประเมินจากการทดสอบ  แก้ไข
6.1 ผลการเรียนรู้ด้านทักษะพิสัย 
6.1 ผลการเรียนรู้ด้านทักษะพิสัย  1. สามารถปฏิบัติงานโดยนําองค์ ความรู้มาบูรณาการร่วมกับศาสตร์ที่ศึกษาได้ อย่าง เหมาะสม 2. สามารถปฏิบัติงานโดยใช้องค์ความรู้และประสบการณ์ในศาสตร์ที่ศึกษามาใช้ เป็น แนวทางในการดําเนินงานเพื่อสนับสนุนการดําเนินงานของธุรกิจ นํามาใช้ แก้ไข ปัญหา ค้นคว้าวิจัย ตลอดจนพัฒนาตนเอง ชุมชน และสังคมได้ อย่างถูกต้อง 3. สามารถปรับตัวเข้าสู่สังคมชีวิต สังคมการทํางาน สังคมข้ามวัฒนธรรมได้ อย่าง เหมาะสม และมีความพอเพียงในการดําเนินชีวิต 4. สามารถปฏิบัติงานโดยใช้ ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ อย่างเป็นระบบ แก้ปัญหาเชิง บูรณาการได้ ด้วยการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ ตีความ อย่างมีเหตุผล 5. สามารถปฏิบัติงานโดยยึดถือแนวทางความคิด วิเคราะห์ บนพื้นฐานของความเป็น ไทย
1.  จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรายวิชาต่าง  ๆ  ให้ นักศึกษาได้ วิเคราะห์สถานการณ์จําลองหรือสถานการณ์เสมือนจริง และนำเสนอแนวทางแก้ปัญหาที่เหมาะสม 2. จัดกิจกรรมในรายวิชาเพื่อส่งเสริมให้นักศึกษามีจิตสาธารณะ  บําเพ็ญ     ประโยชน์ต่อสังคมและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม 3.  จัดกิจกรรมเกี่ยวกับการสร้างความเข้าใจในกระบวนการบริหารธุรกิจ ด้าน      การวางแผนการจัดโครงสร้างองค์การ การปฏิบัติการ การควบคุมและการ      ผลการดำเนินงาน รวมทั้งการปรับปรุงแผนงานให้ สอดคล้องกับ      สถานการณ์ฯ 4. จัดให้นักศึกษาได้ฝึกประสบการณ์ในสถานประกอบการตามหลักบูรณาการ     เรียนการสอนการทำงาน 5.  จัดกิจกรรมให้นักศึกษาได้ เข้าร่วมในการบริการวิชาการแก่สังคม ร่วม      กับอาจารย์และผู้เกี่ยวข้อง 6.  จัดกิจกรรมที่ให้นักศึกษาได้ฝึกใช้ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศในการสื่อสารในสถานการณ์และวัฒนธรรมที่หลากหลาย  แก้ไข
1. ผลงานและการปฏิบัติงานของนักศึกษา จากการจําลอง หรือสถานการณ์ จริง และความสามารถในการนําเสนอแนวทางแก้ปัญหาที่เหมาะสม 2. พฤติกรรมที่แสดงออก ในการเข้าร่วมกิจกรรม ที่ส่งเสริมให้ นักศึกษา จิตสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม 3. พฤติกรรมที่แสดงออกจากการเข้าฝึกประสบการณ์ในสถานประกอบการ ตามหลักบูรณาการ การเรียนการสอนกับการทํางาน 4. การนําเสนอผลงาน หรือโครงงาน โดยการเลือกใช้ ภาษา การสื่อสารใน บริบทต่าง ๆ เพื่อคิดวิเคราะห์ แก้ไขปัญหา อย่างเหมาะสม 5. นักศึกษาสามารถใช้ เทคนิคการประยุกต์ การวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อการตัดสินใจในสถานการณ์ต่าง ๆ บนฐานข้อมูลและข้อมูลเชิงตัวเลข ได้
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
ไม่มีข้อมูล
สินอ่ำ, จำลักษณ์ ขุนพลแก้ว, นพเกล้า ศิริพลไพบูลย์, วรินธร เจนวิกัย และศุภชัย อาชีวระงับโรค. (2563). หลักการเพิ่มผลผลิต. กรุงเทพฯ: สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ.
เกียรติพงษ์ อุดมธนะธีระ. (2561). วงจรการควบคุมคุณภาพหรือวงจรเดมมิ่ง (Deming Cycle). สืบค้นเมื่อ 10 พฤษภาคม 2562, จาก http://www.iok2u.com คำนาย อภิปรัชญาสกุล. (2559). การพัฒนางานด้วยระบบคุณภาพและเพิ่มผลผลิต. กรุงเทพฯ: โฟกัสมีเดีย แอนด์ พับลิชชิ่ง. ชัยเสฎฐ์ พรหมศรี. (2550). การบริหารความเสี่ยง. กรุงเทพฯ: เอกซ์เปอร์เน็ท. ณัฏฐพันธ์ เขจรนันทน์. (2556). การจัดการเชิงกลยุทธ์(ฉบับปรับปรุงใหม่). กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น. ณัฏฐพันธ์ เขจรนันทน์ และ ฉัตยาพร เสมอใจ. (2556). การจัดการ. กรุงเทพฯ: ซี เอ็ดยูเคชั่น. ดวงใจ หทัยรัตน์ศิริ. (2557). เทคนิคการรักษาระบบมาตรฐาน ISO 9001 อย่าง ยั่งยืน. กรุงเทพฯ: โรแบร์พับลิชชิ่ง. เดชา อัครศรีสวัสดิ์. (2558). การบริหารผลิตภาพและคุณภาพเบื้องต้น. สืบค้นเมื่อ 6 พฤษภาคม 2562, จาก http://library.dip.go.th/multim 1/ebook
อ่วมอ้อ. (2547). การบำรุงรักษาทวีผลแบบทุกคนมีส่วนร่วม. (พิมพ์ครั้งที่ 2) กรุงเทพฯ: สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ.
เนตร์พัณณา ยาวิราช. (2561). การจัดการสมัยใหม่. (พิมพ์ครั้งที่ 6). กรุงเทพฯ: ศูนย์ หนังสือแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บรรจง จันทมาศ. (2544). ระบบบริหารคุณภาพ ISO 9000 : 2000. กรุงเทพฯ: สถาบันส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น). _____ . (2548). การบริหารงานคุณภาพและเพิ่มผลผลิต. กรุงเทพฯ: สถาบันส่งเสริม เทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น). บุษราคัม พลายม่วง และ ศุภรัตน์ วิริยะไพบูลย์. (2558). การเพิ่มประสิทธิภาพการ ควบคุมคุณภาพของกระบวนการตัดเสื้อฟุตบอลของบริษัท เอ็นเค แอพ พาเรล จำกัด ด้วยเทคนิคสถิติ. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตร์บัณฑิต สาขาสถิติ มหาวิทยาลัยขอนแก่น