การพันหม้อแปลงและมอเตอร์

Transformer and Motor Winding

1.1 สามารถปฏิบัติการเกี่ยวกับการทำบอบบิ้น การพันหม้อแปลงขนาดเล็กได้ 1.2 สามารถหาลำดับขั้วการต่อหม้อแปลงเฟสเดียวกับระบบไฟสามเฟสได้ 1.3 สามารถถอดประกอบมอเตอร์ได้ 1.4 สามารถเขียนเขียนไดอะแกรม คำนวณพร้อมพันมอเตอร์สปลิตเฟส มอเตอร์สามเฟส และมอเตอร์พัดลมได้
ศึกษาเกี่ยวกับหลักการทำงานหม้อแปลงคำนวณหาค่าพารามิเตอร์หม้อแปลง โครงสร้างส่วนประกอบของมอเตอร์เหนี่ยวนำ หลักการทำงานของสปลิตเฟสและมอเตอร์สามเฟสวิธีเขียนสเตเตอร์ไดอะแกรมแบบต่างๆ คำนวณพันมอเตอร์เหนี่ยวนำ ปฏิบัติเกี่ยวกับการทำบ๊อบบิ้น การพันหม้อแปลงขนาดเล็กหาลำดับขั้ว ต่อหม้อแปลงเฟสเดียวกับระบบไฟสามเฟส การถอดประกอบมอเตอร์ ฝึกเขียนไดอะแกรม คำนวณพร้อมพันมอเตอร์ สปลิตเฟส มอเตอร์สามเฟส และมอเตอร์พัดลม
 
ปฏิบัติการเกี่ยวกับการทำบ๊อบบิ้น การพันหม้อแปลงขนาดเล็ก การหาลำดับขั้ว การต่อหม้อแปลงเฟสเดียวกับระบบไฟสามเฟส การถอดประกอบมอเตอร์ ฝึก เขียนไดอะแกรม คำนวณพร้อมพันมอเตอร์สปลิตเฟส มอเตอร์สามเฟส และ มอเตอร์พัดลม Practice of making bobbin lace, wiring of small transformer, sequencing the terminal, connect single-phase transformers with three-phase power systems, dismantling the motors, writing diagrams, calculation and wiring of split-phase motors, three-phase motor and fan motor.
1 ชั่วโมง/สัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
1.1 คุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา
นักศึกษาต้องมีคุณธรรม จริยธรรมเพื่อให้สามารถดำเนินชีวิตร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้อย่างราบรื่น และประพฤติตนโดยคำนึงถึงประโยชน์ของส่วนรวม 
1.1.2 มีจิตอาสา จิตสาธารณะ อดทนอดกลั้น มีความเสียสละ รับผิดชอบบและซื้อสัตย์ต่องานที่ได้รับมอบหมายทั้งทางด้านวิชาการและะวิชาชีพ และสามารถพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง ประพฤติตนเป็นแบบอย่างที่ดี (หลัก)
1.1.4 มีความกล้าหาญและการแสดงออกทางคุณธรรมจริยธรรม สามารถวินิจฉัยจัดการและคิดแก้ปัญหาทางคุณธรรมจริยธรรมด้วยความถูกต้อง เพมาะสมกับสังคม การทำงานและสภาพแวดล้อม โดยอาศัยหลักการ เหตุผลและใช้ดุลพินิจทางค่านิยม (รอง)  
1.2.1 กำหนดให้มีวัฒนธรรมองค์กรเพื่อเป็นการปลูกฝังให้นักศึกษามีระเบียบวินัย ตรงต่อเวลา มีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม สิ่งแวดล้อมและเป็นแบบอย่างที่ดี เช่น การเข้าชั้นเรียนให้ตรงเวลา การแต่งกายตามกฎระเบียบของมหาวิทยาลัย
1.2.2 กำหนดให้นักศึกษาต้องมีความรับผิดชอบโดยในการทำงานเป็นกลุ่ม โดยฝึกให้รู้บทบาทหน้าที่ของการเป็นผู้นำกลุ่ม การเป็นสมาชิกกลุ่ม การเคารพสิทธิและการรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
1.3.1 การตรงเวลาของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที่มอบหมาย และการเข้าร่วมกิจกรรม
1.3.2 ความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
1.3.3 ความซื่อสัตย์สุจริตในการทำงานที่ได้รับมอบหมาย และการสอบ
2.1.2 มีความรู้และเนื้อหาในวิชาชีพ ด้านหลักการ แนวคิด ทฤษฎีและทักษะการปฏิบัติอย่างลึกซึ้ง ถ่องแท้รวมทั้งบริบทของอุตสาหกรรม มาตรฐานอุตสาหกรรมและ/หรือมาตรฐานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง มีความสามารถในการใช้เครื่องมือ การซ่อมแซม การบำรุงรักษา การสร้าง การพัฒนากระบวนการในขั้นตอนการทำงาน โดยคำนึงถึงผลดีผลเสีย ความปลอดภัย สามารถติดตามความก้าวหน้าด้าน วิทยาการที่เกี่ยวข้องและนำไปประยุกต์ใช้ได้
2.1.3 เข้าใจชุมชน เข้าใจชีวิต มีความรู้บริบทอุตสาหกรรม สถานประกอบการ เข้าใจโลก และการอยู่ร่วมกันบนพื้นฐานความแตกต่างทางวัฒธรรม สามารถเผชิญและเท่าทันกับการเปลี่ยนแปลงของสังคม และสามารถนาแนวคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์ใช้ในการดำเนิน ชีวิตและพัฒนาตน พัฒนางาน และพัฒนาผู้เรียน
2.1.4 มีความรู้และความสามารถในการใช้ภาษาไทยและภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารตามมาตรฐาน
จัดการเรียนรู้ การถ่ายทอดความรู้ การสร้างแรงบันดาลใจและส่งเสริมให้ผู้เรียน มีความสุขในการเรียนรู้ โดยใช้ศาสตร์การสอน รวมถึงการใช้เทคนิควิธีการจัดการเรียนรู้ และสื่อเทคโนโลยี และรูปแบบกิจกรรมการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับสาระวิชาและผู้เรียนที่มีความแตกต่างกันโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ นำมาประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการศาสตร์การสอน ความรู้ เนื้อหาสาระและ เทคโนโลยี เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้เกิดผลการเรียนรู้ตามมาตรฐานคุณวุฒิด้านความรู้ ด้วยรูปแบบการจัดการเรียนรู้ที่หลากหลาย อาทิ
2.2.1 การบรรยายเชิงปฏิสัมพันธ์กับผู้เรียน
2.2.2 การเรียนรู้จากกรณีศึกษา
2.2.3 การเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน
2.2.4 ส่งเสริมและชี้แนะให้นักศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมจากระบบเทคโนโลยี สารสนเทศทางวิชาการ รวมทั้งการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ และประเมินค่าองค์ความรู้ด้วยวิธีการที่เหมาะสม แล้วนำมาประยุกต์สร้างผลงานทางวิชาการ
 
2.3.1 การทดสอบย่อย
2.3.2 สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นปฏิบัติ
2.3.3 การวัดผลภาคปฏิบัติทักษะการปฏิบัติ เช่นการำเสนองาน 
2.3.4 การประเมินผลพฤติกรรมการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและการสะท้อนคิดกิจกรรมในชั้นเรียน
3.1.2 สามารถคิดริเริ่มและพัฒนางานอย่างสร้างสรรค์
3.1.3 สร้างและประยุกต์ใช้ความรู้จากการทาวิจัยและสร้างหรือร่วมสร้าง ผลิตภาพ หรือผลิตภัณฑ์ หรือนวัตกรรม เพื่อพัฒนาตนเอง พัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนและพัฒนาผู้เรียนให้เป็น ผู้สร้างหรือร่วมสร้าง นวัตกรรม รวมทั้งการถ่ายทอดความรู้แก่ชุมชน สถานประกอบการและสังคม
3.2.1 การเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน

3.2.2 ใช้กระบวนการเรียนการสอนที่หลากหลายซึ่งเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญโดยฝึกทักษะด้านปฏิบัติการ
การอภิปรายกลุ่ม วิเคราะห์ผลการพันหม้อแปลงและมอเตอร์ การทดสอบหม้อแปลงและมอเตอร์
 
3.3.1 ประเมินตามสภาพจริงจากผลงาน และการปฏิบัติของนักศึกษา
3.3.2 วัดผลจากการนำเสนอผลงานตามที่ได้รับมอบหมาย
3.3.3 สัมภาษณ์ และสังเกตพฤติกรรม การแก้ไขปัญหา
4.1.2 ทำงานร่วมกับผู้อื่น ทำงานเป็นทีม เป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี มีสัมพันธภาพที่ดีกับผู้เรียน ผู้ร่วมงาน ผู้ปกครอง คนในชุมชน และผู้ปฏิบัติงานในสถานประกอบการ มีสานึกรับผิดชอบต่อ ส่วนรวมทั้งด้าน เศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม สามารถพัฒนาผู้เรียนให้เกิดความภาคภูมิใจและเห็น คุณค่าในตนเอง ในวิชาชีพ เคารพในเกียรติและศักดิ์ศรีของผู้อื่น และความเป็นมนุษย์ (รอง)
4.1.3 มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ ต่อตนเอง ต่อผู้เรียน ต่อผู้ร่วมงาน และต่อส่วนรวมสามารถช่วยเหลือและแก้ปัญหาตนเอง กลุ่มและระหว่างกลุ่มได้อย่างสร้างสรรค์ (หลัก)
4.2.1 กำหนดกิจกรรมที่ต้องประสานงานกับผู้อื่นข้ามหลักสูตร หรือต้องค้นคว้าหาข้อมูลจากการสัมภาษณ์บุคคลอื่น หรือผู้มีประสบการณ์
4.2.2 กำหนดกิจกรรมให้มีการทำงานเป็นกลุ่ม นำเสนอแนวคิด และผลงาน
4.2.3 มีการมอบหมายงาน และให้ส่งตามกำหนดเวลา
4.2.4 วัดและประเมินจากการปฏิบัติงาน เช่น การปฏิบัติตามสภาพจริงหรือ ในห้องปฏิบัติการ
4.3.1 ประเมินจากรายงานกลุ่มที่นำเสนอ พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
4.3.2 ประเมินจากงานที่มอบหมาย
5.1.2 สื่อสารกับผู้เรียน บุคคลและกลุ่มต่างๆ อย่างมีประสิทธิภาพด้วยวิธีการ หลากหลาย ทั้งการพูด การเขียน และการนาเสนอด้วยรูปแบบต่างๆ โดยใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมที่เหมาะสม
5.1.3 ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ซอฟต์แวร์หรือโปรแกรมสาเร็จรูปหรือแอปพลิเคชัน หรือแพลตฟอร์ม รวมทั้งอุปกรณ์สนับสนุนที่ทันสมัย จาเป็นสาหรับการจัดการเรียนรู้ การวิจัย การทางาน และการประชุม รวมทั้ง สามารถติดตามความก้าวหน้า การจัดการและสืบค้นข้อมูลและสารสนเทศ รับและส่งข้อมูลและสารสนเทศ โดยใช้ดุลยพินิจที่ดีในการตรวจสอบความน่าเชื่อถือของข้อมูลและสารสนเทศ อีก ทั้งตระหนักถึงการละเมิดลิขสิทธิ์ และการลอกเลียนผลงาน
 
5.2.1 การติดตาม วิเคราะห์ และนาเสนอรายงานประเด็นสาคัญด้าน การศึกษาจากข่าวสารบนสื่อสังคมออนไลน์
5.2.2 การสืบค้นและนาเสนอรายงานประเด็นสาคัญด้านการศึกษาโดยบูรณา การการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและเทคโนโลยีดิจิทัล
5.2.3 การจัดทาอินโฟกราฟิกเพื่อสรุปประเด็นสาระสาคัญของงานที่นาเสนอ
5.2.4 การจาลองการทางานโดยใช้ ซอฟต์แวร์หรือเพล็ตฟอร์ม
5.3.1 วัดและประเมินจากการติดตาม วิเคราะห์ และนาเสนอรายงานที่แสดง ถึงการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงตัวเลข
5.3.2 ัดและประเมินจากผลการสืบค้นและนาเสนอรายงานประเด็นสาคัญ การศึกษาที่มีการบูรณาการเทคโนโลยีสารสนเทศและเทคโนโลยีดิจิทัล
5.3.3 วัดและประเมินจากการปฏิบัติงาน เช่น การปฏิบัติตามสภาพจริงหรือ ในห้องปฏิบัติการ
6.1.2 มีความรู้ความเข้าใจ สามารถวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคลและจัดการเรียนรู้ หรือสอนงาน ได้อย่างหลากหลายเพื่อพัฒนาผู้เรียนตามความแตกต่างระหว่างบุคคล ทั้งผู้เรียนปกติหรือที่มี ความต้องการจาเป็นพิเศษหรือต่างวัฒนธรรม
6.1.3 จัดกิจกรรมและออกแบบการจัดการเรียนรู้ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากประสบการณ์ เรียนรู้ ผ่านการลงมือปฏิบัติและการทางานในสถานการณ์จริงที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนพัฒนาการคิด การทางาน การจัดการการเผชิญสถานการณ์ ฝึกการปฏิบัติให้ทาได้ คิดเป็น ทาเป็น โดยบูรณาการการทางานกับ การเรียนรู้และคุณธรรม จริยธรรม สามารถประยุกต์ความรู้มาใช้เพื่อป้องกัน แก้ไขปัญหา และพัฒนา
 6.1.5 สามารถจัดการเรียนการสอนให้นักเรียนมีทักษะศตวรรษที่ ๒๑ และเทคโนโลยี มาใช้ในการ จัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาผู้เรียนและพัฒนาตนเอง เช่น ทักษะการเรียนรู้(Learning Skills)ทักษะการรู้เรื่อง (Literacy Skills) และทักษะชีวิต (Life Skills) ทักษะการทางานแบบร่วมมือ และดาเนิน ชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
6.2.1 การออกแบบการจัดการเรียนรู้โดยบูรณาการความรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็น
6.2.2 จัดให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากผู้มีประสบการณ์ 
 
6.3.1 ประเมินจากกิจนิสัยในการปฏิบัติงาน
6.3.2 ประเมินผลทักษะในการปฏิบัติงาน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. ด้านคุณธรรมจริยธรรม 2. ด้านความรู้ 3. ด้านทักษะทางปัญญา 4. ด้านความสัมพันธ์บุคคลและความรับผิดชอบ 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและเทคโนโลยีสารสนเทศ 6.ด้านทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 4 5 1 2 3 1 2 3 4 1 2 3 1 2 3 4 5
1 TEDEE103 การพันหม้อแปลงและมอเตอร์
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1.2, 1.1.4, 2.1.2, 2.2.3, 2.2.4, 3.1.2, 3.1.3, 4.1.2, 5.1.2, 5.1.3, 6.1.2, 6.1.3, 6.1.5 1) ประเมินจากการสังเกตพฤติกรรมความตรงต่อเวลาในการเข้าชั้นเรียนและการส่งงานที่ได้รับมอบหมาย 2) ประเมินจาก การอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม 3) ประเมินจาก ปริมาณการกระทำทุจริต ในด้านการส่งงาน การนำเสนอผลงานและการสอบของนักศึกษา ตลอดภาคการศึกษา 20%
2 2.1.2, 2.1.2, 2.2.3, 2.2.4 1) ทดสอบปฏิบัติย่อยครั้งที่ 1 2) สอบกลางภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นหลักการและปฏิบัติ 3) ทดสอบปฏิบัติย่อยครั้งที่ 1 4) สอบปลายภาค สอบกลางภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นหลักการและปฏิบัติ 4, 8, 12, 17 5%, 20%, 5%, 20%
3 3.1.2, 3.1.3,4.1.3 1) วัดผลจากทักษะในการลงมือปฏิบัติตามใบงานตามที่ได้รับมอบหมายและคุณภาพของใบงานที่ทำเสร็จแล้ว 2) ประเมินผลการเรียนรู้ด้านทักษะทางปัญญา ความเข้าใจ วิเคราะห์และการประยุกต์ใช้ทฤษฎีแก้ปัญหาจาก Case Study ที่มอบหมาย (Flip Study) ตลอดภาคการศึกษา 20%, 10%
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
2.1 การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.2 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ