ปฏิบัติการถ่ายภาพสร้างสรรค์

Practice of Creative Photography

ด้านคุณธรรมจริยธรรม
- หลัก ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
- รอง มีทัศนคติที่เปิดกว้าง ยอมรับฟังแนวคิดของผู้อื่น
ความรู้ 
- รอง มีความรู้ในทางศิลปะที่สัมพันธ์กับบริบททางสังคม ภูมิปัญญา และวัฒนธรรม
- รอง มีความรู้เกี่ยวกับมาตรฐานหรือธรรมเนียมปฏิบัติ ในการประกอบวิชาชีพด้านศิลปกรรมศาสตร์ในสาขาวิชาที่ศึกษา  
ทักษะทางปัญญา   
- รอง สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์ และเสนอแนวทางแก้ปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์
- หลัก สามารถบูรณาการความรู้กับศาสตร์อื่นเพื่อสร้างสรรค์ผลงานทางวิชาการ และวิชาชีพได้
- หลัก มีความคิดสร้างสรรค์ และมีปฏิภาณไหวพริบในการสร้างผลงาน   
ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล เเละความรับผิดชอบ
- รอง มีความรับผิดชอบต่องานของตนเอง และสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ
- รอง สามารถแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล ตรงไปตรงมา และเคารพในความคิดเห็นที่แตกต่าง
ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
- รอง สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูล เพื่อการสร้างสรรค์ผลงานหรือการนำเสนอผลงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ทักษะพิสัย
- หลัก มีทักษะปฏิบัติทางศิลปกรรมศาสตร์ในการสร้างสรรค์ผลงานตน 
เปิดรายวิชานี้ครั้งแรก
ปฏิบัติการวางแนวคิดสร้างสรรค์ในการถ่ายภาพ การจัดวางองค์ประกอบ การวางแผนการถ่ายภาพในสตูดิโอและกลางแจ้ง และการตกแต่งภาพถ่ายดิจิทัลด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ โดยสามารถนำไปใช้สื่อสารด้านดิจิทัลโฆษณา และประชาสัมพันธ์ออนไลน์
1) อาจารย์ประจํารายวิชาให้คําปรึกษาและข้อคิดเห็นเกี่ยวกับผลงานของนักศึกษาผ่านทางเว็บไซต์และเครือข่ายสังคมออนไลน์
2) อาจารย์ประจํารายวิชาให้คําปรึกษาและแนะนําทางวิชาการแก่นักศึกษาเป็นรายบุคคล 2 ชั่วโมง / สัปดาห์ โดยระบุ วัน เวลา ไว้ใน ตารางสอนและแจ้งให้นักศึกษาทราบในชั่วโมงแรกของการสอน และให้คําปรึกษาเป็นรายบุคคลหรือรายกลุ่ม )เฉพาะรายที่ ต้องการและนัดหมายล่วงหน้า
- ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
- มีทัศนคติที่เปิดกว้าง ยอมรับฟังแนวคิดของผู้อื่น
 - มอบหมายงานปฏิบัติการภาพถ่ายในหัวข้อถ่ายภาพสร้างสรรค์สินค้าประเภทต่าง ๆ 
  - ประเมินจากการเข้าเรียนและการมีส่วนร่วมในการเรียนการสอน  ประเมินจากผลงานปฏิบัติการถ่ายภาพที่ส่ง
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
ไม่มีข้อมูล
The Digital Photography Book 
การจัดองค์ประกอบ สำหรับการถ่ายภาพ
จรรยาบรรณนักถ่ายภาพ กฎหมายลิขสิทธิ์ เอกสาร ตํารา เทคนิคการถ่ายภาพโฆษณา โปรแกรมตกแต่งภาพ Photoshop
เวปไซต์เกี่ยวกัับการถ่ายภาพ
ให้นักศึกษาประเมินเมื่อสิ้นสุดการเรียนการสอนในประเด็นต่อไปนี้ 1.1 ให้นักศึกษาประเมินอาจารย์ผู้สอนในประเด็นต่อไปนี้  ความตรงต่อเวลา  การแต่งกาย บุคลิกภาพ  คําพูดและวาจาสุภาพ เหมาะสม   การเป็นแบบอย่างที่ดี สอดแทรกคุณธรรมและจริยธรรมระหว่างการสอน  ความสามารถในการถ่ายทอดเนื้อหาให้เข้าใจและกระตุ้นการเรียนรู้  แจ้งและสรุปวัตถุประสงค์การศึกษาหัวข้อที่สอน  จัดการเรียนการสอนให้เกิดการเรียนรู้ตรงกับที่ระบุไว้ในวัตถุประสงค์การศึกษา  การเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ซักถาม แสดงความคิดเห็นระหว่างการเรียนการสอน 1.2 ให้นักศึกษาประเมินภาพรวมของรายวิชาในประเด็นต่อไปนี้  ความรู้ความสามารถโดยรวม และประโยชน์ที่ได้รับจากการเรียนรายวิชานี้  ความพึงพอใจต่อการเรียนรายวิชานี้  ข้อเสนอแนะอื่นๆ เช่นและการประเมินความพึงพอใจจากการเข้าร่วมโครงการประกวดการถ่ายภาพและบรรยายพิเศษ 
ให้อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาหรืออาจารย์ที่ได้รับมอบหมาย ดําเนินการดังต่อไปนี้ 2.1 ให้นักศึกษาประเมินอาจารย์ผู้สอนและภาพรวมของรายวิชาตาม ข้อ ๑ 2.2 สุ่มสังเกตการสอนและประเมินการจัดการเรียนการสอน ) โดยเพื่อนอาจารย์ (ในประเด็ นต่อไปนี้  ความตรงต่อเวลา  การแต่งกาย บุคลิกภาพ  คําพูดและวาจาสุภาพ เหมาะสม   การเป็นแบบอย่างที่ดี สอดแทรกคุณธรรมและจริยธรรมระหว่างการสอน  ความรู้ความสามารถทางวิชาการในหัวข้อที่สอน  ความสามารถในการถ่ายทอดเนื้อหาให้เข้าใจและกระตุ้นการเรียนรู้  แจ้งและสรุปวัตถุประสงค์การศึกษาหัวข้อที่สอน  จัดการเรียนการสอนให้เกิดการเรียนรู้ตรงกับที่ระบุไว้ในวัตถุประสงค์การศึกษา  การเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ซักถาม แสดงความคิดเห็นระหว่างการเรียนการสอน 2.3ให้อาจารย์ผู้สอนประเมินตนเองในประเด็นต่อไปนี้  ความเหมาะสมของเวลาที่ใช้ในการเตรียมสอน  ความพึงพอใจของผู้สอนต่อผลการสอน  ข้อที่ควรปรับปรุงแก้ไขหรือพัฒนาตนเองในการสอนครั้งต่อไป 
สาขาวิชาออกแบบสื่อสาร มีกลไกและวิธีการปรับปรุงการเรียนการสอนดังนี้ 3.1 ให้อาจารย์ผู้สอนแต่ละหัวข้อบันทึกเหตุการณ์ระหว่างการสอนที่สมควรนําเสนอให้พิจารณารวมทั้งสิ่งที่ควรปรับปรุงแก้ไขในแต่ละ คาบการสอน   3.2 ประชุม  / การเรียนการสอนสําหรับปีการศึกษาต่อไปโดยอาศัยข้อมูลดังต่อไปนี้สั มมนาอาจารย์ผู้สอนเพื่อพิจารณาปรับปรุงการจัด  ผลการศึกษาของนักศึกษา  ผลการประเมินประสิทธผลของรายวิชาโดยนักศึกษา  ผลการประเมินการสอน  บันทึกของกลุ่มอาจารย์ผู้สอน
สาขาวิชาออกแบบสื่อสาร มีกระบวนการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษา ดังนี้  การสุ่มสัมภาษณ์โดยคณะกรรมการทวนสอบระดับหลักสูตร  การประเมินโดยกรรมการประจําหลักสูตร หรือผู้ทรงคุณวุฒิภายใน / ภายนอก
เมื่อสิ้นสุดทุกปีการศึกษา อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาจะจัดประชุม  /ติดต่อขอความคิดเห็นจากอาจารย์ที่ร่วมสอน รวมทั้ง พิจารณาสรุปผลการประเมินการสอน ผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษา  เพื่อกําหนดประเด็นที่เห็นสมควรจัดให้มีการปรับปรุงในการศึกษา ต่อไป ทั้งเนื้อหา ลําดับการสอน วิธีการสอนและการประเมินผล ปรับปรุงรายวิชาและวิธีการจัดการเรียนการสอนในปีการศึกษาถัดไป ตามข้อเสนอแนะตามข้อเห็นของนักศึกษา ๑ ดําเนินการทบทวนปรับปรุงรายวิชาในทุก ๕ ปีตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรของ หรือ ในกรณีที่พบปัญหา มีวิทยากรจากภายนอกมาบรรยายเสริม เพื่อรับประสบการณ์หรือสภาพปัญหาในการทํางานจริง ปรับหัวข้องาน ปฏิบัติที่มอบหมาย หรือปรับหัวข้อในโครงการประกวดภาพถ่ายให้ตรงกับความสนใจของผู้เรียน