ศิลปะภาพพิมพ์ลิโธกราฟ

Planographic Process

                  1.1 รู้ความหมายและแนวความคิดของงานภาพพิมพ์หิน(Lithograph)
                  2.2 รู้และเข้าใจถึงกระบวนการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะทางด้านรูปแบบเทคนิควิธีการของศิลปะภาพพิมพ์หิน
                  3.3 สามารถบรรยายเชิงวิชาการ วิเคราะห์ วิจารณ์ ผลงานสร้างสรรค์ในงาน ภาพพิมพ์หิน
                  4.4 สามารถเข้าใจแนวความคิดและรูปแบบของงานภาพพิมพ์หินในแต่ละเทคนิคทางกระบวนการภาพพิมพ์หิน
                  4.5 เห็นคุณค่าของผลงานภาพพิมพ์หิน สามารถสร้างผลงานศิลปะภาพพิมพ์หินในแนวทางของตนเองและสามารถใช้ในการประกอบอาชีพได้  

 
2. วัตถุประสงค์ในการพัฒนาปรับปรุงรายวิชา
                  2.1 นักศึกษามีความรู้ในด้านแนวความคิด เกี่ยวกับงานภาพพิมพ์หิน
                  2.2 นักศึกษามีการบรรยาย วิเคราะห์ วิจารณ์ และเขียนรายงาน ในการสร้างสรรค์เกี่ยวกับงานภาพพิมพ์หิน ในแต่ละประเภทของเทคนิคได้
                  2.3 สามรถเข้าใจบริบททางสังคมที่ส่งผลต่อรูปแบบ และแนวความคิดของศิลปินในงานภาพพิมพ์หิน
                  2.4 นักศึกษาสามารถประยุกต์ความรู้ไปใช้ต่อการปฏิบัติในการสร้างสรรค์ผลงานภาพพิมพ์หิน เพื่อประโยชน์ใช้สอยและประกอบอาชีพในชีวิตของตนเองได้
                         ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะภาพพิมพ์จากกระบวนการ ภาพพิมพ์ลิโธกราฟ (Lithograph) โดยเน้นความพิเศษเฉพาะของเทคนิคและความคิดสร้างสรรค์
                           Study and practice creating printmaking artwork through the process of lithography, emphasizing unique techniques and creativity.
 
 -    อาจารย์ประจำรายวิชา
 -    อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ
(1)   ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
(2)   มีทัศนคติที่เปิดกว้าง ยอมรับฟังแนวคิดของผู้อื่น
            สอดแทรกเรื่องคุณธรรม จริยธรรมในการสอน รวมทั้งมีการจัดกิจกรรมส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม  สอนความรู้ จรรยาบรรณทางด้านวิชาการและวิชาชีพ ในรายวิชา  สอนให้มีระเบียบวินัย  ฝึกให้รู้หน้าที่ในการทำงาน มีความรับผิดชอบต่อตนเอง  สังคม และสิ่งแวดล้อม
ส่งงานตรงต่อเวลา ครบถ้วน การเรียนและเข้าชั้นเรียนสม่ำเสมอ การแต่งกายสะอาดและสุภาพ
 
(2)  มีความสามารถในการค้นคว้าแก้ปัญหาและพัฒนาทางด้านศิลปกรรมศาสตร์อย่างเป็นระบบ
(4)​  มีความรู้เกี่ยวกับมาตรฐานหรือธรรมเนียมปฏิบัติในการประกอบวิชาชีพด้านศิลปกรรมศาสตร์ในสาขาวิชาที่ศึกษา     
                        ใช้การเรียนการสอนหลากหลายรูปแบบ โดยเน้นหลักการทางทฤษฎี และการประยุกต์ใช้ในการปฎิบัติงาน โดยทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี ทั้งนี้ให้เป็นไปตามลักษณะของรายวิชาตลอดจนเนื้อหาสาระของรายวิชานั้น ๆ นอกจากนี้อาจจัดให้มีการเรียนรู้จากสถานการณ์จริงโดยการศึกษาดูงานหรือเชิญผู้เชี่ยวชาญที่มีประสบการณ์ตรงมาเป็นวิทยากรพิเศษเฉพาะเรื่อง ตลอดจนการฝึกประสบการณ์หรือฝึกปฏิบัติงานในสถานประกอบการ
การนำเสนอผลงาน/การสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค
(1)  สามารถค้นคว้า รวบรวมและประเมินข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลายอย่างมีวิจารณญาณ
(3) สามารถบูรณาการความรู้กับศาสตร์อื่นเพื่อสร้างสรรค์ผลงานทางวิชาการและวิชาชีพได้
(4)  มีความคิดสร้างสรรค์และมีปฏิภาณไหวพริบในการสร้างผลงาน
          ใช้กรณีศึกษา การจัดทำโครงงาน หรือการจัดทำศิลปนิพนธ์ การมอบหมายงานให้นักศึกษาสืบค้นข้อมูลวิเคราะห์ สังเคราะห์และสรุปข้อมูลการนำเสนองาน โดยอภิปรายเดี่ยวหรือกลุ่ม ร่วมแสดงความคิดเห็น
ความคิดสร้างสรรค์ของผลงานที่กำหนดให้
ในแต่ละสัปดาห์
                    สอดแทรกเรื่องความสำคัญของการมีมนุษยสัมพันธ์ การมีมารยาททางสังคม  มอบหมายงานหรือจัดกิจกรรมโดยหมุนเวียนกันทำหน้าที่ผู้นำและผู้ตาม   การเคารพสิทธิและการยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่น   การประสานงานกับบุคคลภายนอก   การแสดงความคิดเห็น และการวิพากษ์วิจารณ์งานของผู้อื่น
รับผิดชอบงานที่มอบหมาย
            จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรายวิชา ให้นักศึกษาได้วิเคราะห์สถานการณ์จำลอง และสถานการณ์เสมือนจริง แล้วนำเสนอการแก้ปัญหาที่เหมาะสม เรียนรู้เทคนิคการประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศ    ให้นักศึกษาค้นคว้างานที่ต้องอาศัยการประมวลผล  โดยการใช้ตัวเลขเพื่อการจัดการข้อมูล   การนำเสนอที่เหมาะสมกับสภาพของผู้สื่อสาร 
ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสื่อสาระสนเทศในการนำเสนอผลงาน
             ใช้วิธีการสอน ด้วยวิธีคัดลอกแบบ ทำตามแบบและใบงาน การใช้กรณีศึกษา โครงงานและศิลปนิพนธ์ สร้างสรรค์ผลงานตามแนวทางของการปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง 
ผลงานการปฏิบัติงานในแต่ละสัปดาห์
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรมจริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6.ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 2 1 3 4 3 2 1
1 BFAVA191 ศิลปะภาพพิมพ์ลิโธกราฟ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1,2 ส่งงานตรงต่อเวลา ครบถ้วน การเรียนและเข้าชั้นเรียนสม่ำเสมอ การแต่งกายสะอาดและสุภาพ ตลอดภาคการศึกษา 10%
2 2,4 การนำเสนอผลงาน/การสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ตลอดภาคการศึกษา 15%
3 1,3,4 ความคิดสร้างสรรค์ของผลงานที่กำหนดให้ ในแต่ละสัปดาห์ ตลอดภาคการศึกษา 25%
4 3 รับผิดชอบงานที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 10%
5 2 ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสื่อสาระสนเทศในการนำเสนอผลงาน ตลอดภาคการศึกษา 10%
6 1 ผลงานการปฏิบัติงานในแต่ละสัปดาห์ ตลอดภาคการศึกษา 30%
รศ.กัญญา เจริญศุภกุล ภาพพิมพ์หิน Lithograph.กรุงเทพ:บริษัทอมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง จำกัด (มหาชน),2550
เอกสารข้อมูลกระบวนการภาพพิมพ์ลิโธกราฟ
ไม่มี
ส่งงานตรงต่อเวลา ครบถ้วน การเรียนและเข้าชั้นเรียนสม่ำเสมอ การแต่งกายสะอาดและสุภาพ
การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน
ปรับปรุงเนื้อหาในการเรียนการสอนทุกปีการศึกษา
ประเมินตามสภาพจริงโดยประเมินจากการปฏิบัติงานและผลงาน
ประเมินจากผลงานที่ปฏิบัติ