ทฤษฎีสีเพื่อการสร้างสรรค์ศิลปะ

Theory of color for Arts

1.  เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับความหมาย  ความสำคัญ  คุณค่าของทฤษฎีสี และหลักการใช้ทฤษฎีสีในงานศิลปะ
2. เสริมสร้างเจตคติผู้เรียน ผ่านประสบการณ์เพื่อเกิดประโยชน์สอดคล้องกับสถานการณ์ของการศึกษาเรียนรู้และประยุกต์ใช้ในปัจจุบัน
3.  ตระหนักและเห็นคุณค่าในการใช้สีสร้างสรรค์ผลงาน
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจในการใช้สี เป็นพื้นฐานในการเรียนในวิชาศิลปะอื่นๆที่เกี่ยวข้องและเพื่อให้นักศึกษาตระหนักและเห็นคุณค่านำความรู้ ความเข้าใจไปใช้ในการสร้างสรรค์ผลงาน  สอดคล้องกับความก้าวหน้าตามยุคสมัย  
ศึกษาเกี่ยวกับการใช้ทฤษฎีสี ทดลองปฏิบัติเกี่ยวกับหลักการใช้ทฤษฎีสีในการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะ
อาจารย์ผู้สอนจะให้คำปรึกษาและแนะนำทางวิชาการแก่นักศึกษานอกชั้นเรียน จำนวน 1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ และสื่อสารให้นักศึกษาได้ทราบกำหนดเวลาล่วงหน้า
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ด้านความรู้ 3. ด้านทักษะทางปัญญา 4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ด้านทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม รอบรู้ในศาสตร์ทางศิลปกรรม และศาสตรอื่นที่เกี่ยวข้อง มีความสามารถในการค้นคว้าแก้ปัญหา และพัฒนาทางด้านศิลปกรรมศาสตร์อย่างเป็นระบบ สามารถค้นคว้า รวบรวมและประเมินข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลายอย่างมีวิจารณญาน สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์และเสนอแนวทางแก้ปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์ มีความคิดสร้างสรรค์และมีปฏิภาณไหวพริบในการสร้างผลงาน มีความรับผิดชอบต่องานของตนเอง และสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นอย่างมีประสิทธิภาพ สามารถสื่อสารด้วยการพูด ฟัง อ่าน เขียนในการสื่อสารโดยทั่วไปตลอดจนใช้วิธีการสื่อสารทางศิลปกรรม และนำเสนองานได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูลเพื่อการสร้างสรรค์ผลงานหรือการนำเสนอผลงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารใช้ทักษะปฏิบัติทางศิลปกรรมศาสตร์ในการสร้างสรรค์ผลงานของตน
1 BFAVA174 ทฤษฎีสีเพื่อการสร้างสรรค์ศิลปะ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1 ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม ประเมินจากการตรวจสอบแผนการสอนในเรื่องของคุณธรรม จริยธรรม ในทุกวิชา ประเมินจากผลการดำเนินงานตามแผนการสอน และประเมินจากการสังเกตพฤติกรรม 1 - 17 5 %
2 2.1 รอบรู้ในศาสตร์ทางศิลปกรรม และศาสตรอื่นที่เกี่ยวข้อง 2.2 มีความสามารถในการค้นคว้าแก้ปัญหา และพัฒนาทางด้านศิลปกรรมศาสตร์อย่างเป็นระบบ - การทดสอบย่อย - การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน - ประเมินจากรายงานที่นักศึกษาจัดทำ - ประเมินจากการนำเสนอรายงานในชั้นเรียน - ประเมินจากผลงานที่ปฏิบัติ 13 - 17 30 %
3 3.1 สามารถค้นคว้า รวบรวมและประเมินข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลายอย่างมีวิจารณญาน 3.2 สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์และเสนอแนวทางแก้ปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์ 3.3 มีความคิดสร้างสรรค์และมีปฏิภาณไหวพริบในการสร้างผลงาน ประเมินตามสภาพจริงจากผลงาน การปฏิบัติงานของนักศึกษา และการนำเสนองาน 3 - 17 25 %
4 4.2 มีความรับผิดชอบต่องานของตนเอง และสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นอย่างมีประสิทธิภาพ ประเมินจากพฤติกรรมและการแสดง-16ออกในการนำเสนองาน ผลงานกลุ่มในชั้นเรียน และพฤติกรรมที่แสดงออกในการร่วมกิจกรรมต่างๆ 3 - 16 10 %
5 5.1 สามารถสื่อสารด้วยการพูด ฟัง อ่าน เขียนในการสื่อสารโดยทั่วไปตลอดจนใช้วิธีการสื่อสารทางศิลปกรรม และนำเสนองานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 5.2 สามารเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูลเพื่อการสร้างสรรค์ผลงานหรือการนำเสนอผลงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ประเมินจากความถูกต้องในการใช้ข้อมูลและตัวเลข การเลือกใช้เครื่องมือทางเทคโนโยีสารสรเทศที่เหมาะสม ประเมินจากการอธิบาย การนำเสนอ 1 - 17 5 %
6 สามารใช้ทักษะปฏิบัติทางศิลปกรรมศาสตร์ในการสร้างสรรค์ผลงานของตน ประเมินตามสภาพจริงโดยประเมินจากการปฏิบัติงานและผลงาน 3 - 17 25 %
ทวีเดช จิ๋วบาง. เรียนรู้ทฤษฏีสี. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์โอ.เอส.พริ้นติ้งเฮาส์, 2536.
เทียนชัย ตั้งพรประเสริฐ. เอกสารประกอบการสอนองค์ประกอบศิลป์ 1 ชศป. 2004. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์เฟื่องฟ้าพริ้นติ้ง, 2540.
ธวัชชัย  ศรีสุเทพ. ชุดสีโดนใจ. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์, 2554.
ฟาบรี, ราล์ฟ.  ทฤษฏีสี. แปลโดยสมเกียรติ ตั้งนโม. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์โอ.เอส.พริ้นติ้ง เฮาส์, 2536.
วิรุณ ตั้งเจริญ.  ทฤษฏีสีเพื่อการสร้างสรรค์ศิลปะ. หนังสือชุด 60 ปี อารี สุทธิพันธุ์ 2534. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์โอ.เอส.พริ้นติ้ง เฮาส์, 2535.
สกนธ์ ภู่งามดี. การออกแบบและผลิตงานโฆษณา. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์แซทโฟร์ พริ้นติ้ง, 2546
เสน่ห์  ธนารัตน์สฤษดิ์.  ทฤษฎีสีภาคปฎิบัติ.  กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์, มปป.
เอกเทพ  ภักดีศิริมงคล. Hot  Hit  Web  Design & Art.  กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์สวัสดี  ไอที, 2550
 
Chijiwa,H. Color harmony. Massachusetts: Rockport Publisher,1987.
Faber, B. Creative color. United States of America: Schiffer Publishing, 1987.
Gillow, J and Sentence, B. World textile: A visual guide to traditional techniques. . London: Thames & Hudson, 2000.
Hardy, A. Art deco textiles: The French designers. London: Thames & Hudson, 2003.
Heathcote, E. Cinema builders. Great Britain: Wiley-Academy, 2001.
Henderson, J. Casino design: Resorts, hotels, and themed entertainment spaces. Massachusetts: Rockport Publisher, (n.d.)
Hill, T, The watercolorist’s complete guide to color. Ohio: North light book Press, 1992.
Joyce,C. Textile design. New York: Watson-Guptill Publications, 1993.
Levine, M. Colors for living: Living rooms. Massachusetts: Rockport Publisher, (n.d.)
San Pietro, S. and Brabzaglia, C. Discorddesign in Italy. Milano: Edizioni l’archivolto, 2001.
Sawahata, L. Color harmony workbook. Massachusetts: Rockport Publisher, (n.d.)
เนื้อหาการสอนด้วยโปรแกรม Power point
- หนังสือเกี่ยวกับทฤษฎีสี
- สื่ออิเล็กทรอนิกส์ เว็บไซต์ ที่เกี่ยวข้องกับทฤษฎีสี
แบบประเมินอาจารย์ผู้สอน แบบประเมินรายวิชาในรูปแบบของใบประเมิน หรือการประเมินทางอินเทอร์เนต การสนทนาแลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างผู้สอนและผู้เรียน สังเกตการณ์จากพฤติกรรมผู้ร่วมชั้นเรียน
- การสังเกตการณ์ โดยผู้สอนผู้สอน
- ผลการเรียนของนักศึกษา
- การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
- การสังเกตพฤติกรรมการเรียนของผู้เรียนและทีมผู้สอน
- ผลการเรียนของนักศึกษา
- การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
- การประเมินความคิดเห็นของนักศึกษา
- กระบวนการที่ใช้ในการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ของรายวิชา
- ทวนสอบจากคะแนนข้อสอบ หรืองานที่มอบหมาย จากการสุ่มตัวอย่างผลงานของนักศึกษาจากอาจารย์ต่างหลักสูตร
- ตั้งคณะกรรมการในสาขาตรวจสอบผลการประเมินและกระบวนการการให้คะแนน
 - นำข้อมูลที่ได้จากการประเมินจากข้อ 1 และ 2 มาวางแผนปรับปรุงเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผลรายวิชา โดยปรับปรุงตามข้อเสนอแนะเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์อย่างต่อเนื่อง
- ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลสอบทวนมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
- สลับเปลี่ยนอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษาได้เรียนรู้จากมุมมองทัศนคติ ที่หลากหลาย