การพัฒนาบุคลิกภาพและนำเสนองาน
Personality Development and Presentation
1. ฝึกปฏิบัติงานด้านบุคลิกภาพพื้นฐานทั่วไปของบุคคล
2. ฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับการพัฒนาบุคลิกภาพของผู้นำเสนอ
3. ฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับการรับรู้ของผู้ฟัง
4. ฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับกระบวนการนำเสนอผลงาน
5. ฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับเทคนิคการพูด
6. ฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับการจัดลำดับความสำคัญเนื้อหาในการนำเสนอ
7. เห็นความสำคัญของการมีบุคลลิกภาพที่ดีและการเลือกใช้เทคนิคในการนำเสนองานได้อย่างเหมาะสมกับงาน
2. ฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับการพัฒนาบุคลิกภาพของผู้นำเสนอ
3. ฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับการรับรู้ของผู้ฟัง
4. ฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับกระบวนการนำเสนอผลงาน
5. ฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับเทคนิคการพูด
6. ฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับการจัดลำดับความสำคัญเนื้อหาในการนำเสนอ
7. เห็นความสำคัญของการมีบุคลลิกภาพที่ดีและการเลือกใช้เทคนิคในการนำเสนองานได้อย่างเหมาะสมกับงาน
1. เพื่อพัฒนารูปแบบการสอนโดยเน้นการมีส่วนร่วมของผู้เรียน และการใช้สื่อที่หลากหลายมากขึ้น
2. เพื่อพัฒนาความรู้ในรายวิชาให้สอดรับกับเทคโนโลยีซึ่งมีการเปลี่ยนแปลงอย่างต่อเนื่องไปตามยุคสมัย
2. เพื่อพัฒนาความรู้ในรายวิชาให้สอดรับกับเทคโนโลยีซึ่งมีการเปลี่ยนแปลงอย่างต่อเนื่องไปตามยุคสมัย
ปฏิบัติงานด้านบุคลิกภาพพื้นฐานทั่วไปของบุคคล การพัฒนาบุคลิกภาพของผู้นำเสนอ การรับรู้ของผู้ฟัง กระบวนการนำเสนอผลงาน เทคนิคการพูด การจัดลำดับความสำคัญเนื้อหาในการนำเสนอ
2 ชั่วโมง โดยระบุวัน เวลา ไว้ในตารางสอนและแจ้งให้นักศึกษาทราบในชั่วโมงแรกของการสอน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา | ด้านคุณธรรมจริยธรรม | ด้านความรู้ | ด้านทักษะทางปัญญา | ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ | ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ | ด้านทักษะพิสัย | ||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ลำดับ | รหัสวิชา | ชื่อวิชา | ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม | มีทัศนคติที่เปิดกว้าง ยอมรับฟังแนวคิดของผู้อื่น | มีจิตอาสา จิตสำนึกสาธารณะ | มีความสามารถในการค้นคว้าแก้ปัญหา และพัฒนาทางด้านศิลปกรรมศาสตร์อย่างเป็นระบบ | มีความรู้ในทางศิลปะที่สัมพันธ์กับบริบททางสังคม ภูมิปัญญาและวัฒนธรรม | มีความรู้เกี่ยวกับมาตรฐานหรือธรรมเนียมปฏิบัติในการประกอบวิชาชีพด้านศิลปกรรมศาสตร์ในสาขาวิชาที่ศึกษา | รอบรู้ศาสตร์ทางศิลปกรรม และศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้อง | สามารถค้นคว้า รวบรวมและประเมินข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลายอย่างมีวิจารณญาณ | สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์และเสนอแนวทางแก้ปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์ | สามารถบูรณาการความรู้กับศาสตร์อื่นเพื่อสร้างสรรค์ผลงานทางวิชาการและวิชาชีพได้ | มีความคิดสร้างสรรค์และมีปฏิภาณไหวพริบในการสร้างผลงาน | มีภาวะผู้นำเข้าใจบทบาทหน้าที่ของตนเอง รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น และมนุษย์สัมพันธ์ที่ดี | มีความรับผิดชอบต่องานของตนเอง และสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ | สามารถแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล ตรงไปตรงมา และเคารพในความคิดเห็นที่แตกต่าง | สามารถสื่อสารด้วยการพูด ฟัง อ่าน เขียน ในการสื่อสารโดยทั่วไป ตลอดจนใช้วิธีการสื่อสารทางศิลปกรรม และนำเสนองานได้อย่างมีประสิทธิภาพ | สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูลเพื่อการสร้างสรรค์ผลงานหรือการนำเสนอผลงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ | มีความสามารถในการประยุกต์ใช้ความรู้เชิงตัวเลข หรือเทคโนโลยีที่เหมาะสมสำหรับงานศิลปกรรม | มีทักษะปฏิบัติทางศิลปกรรมศาสตร์ในการสร้างสรรค์ผลงานตน |
1 | BAAPD121 | การพัฒนาบุคลิกภาพและนำเสนองาน |
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล | ไม่มีข้อมูล |
---|
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
1.3 แบบประเมินผู้สอนโดยผู้เรียน
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
1.3 แบบประเมินผู้สอนโดยผู้เรียน
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอนได้มีกลยุทธ์ดังนี้
2.1 การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
2.1 การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
-
4.1 อาจารย์แสดงตัวอย่างการประเมินผลในรายวิชาเพื่อการทวนสอบ
4.2 นักศึกษาสามารถขอดูคะแนนย่อยต่างๆ เพื่อความมั่นใจ
4.2 นักศึกษาสามารถขอดูคะแนนย่อยต่างๆ เพื่อความมั่นใจ
5.1 นำข้อคิดเห็นของนักศึกษาจากข้อ 3 มาประมวลเพื่อจัดกลุ่มและนำไปปรับปรุงการจัดการเรียนการสอนในปีการศึกษาต่อไป
5.2 ดำเนินการทบทวนทุกปีการศึกษาในกรณีที่พบปัญญา และทุก 5 ปีตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรของสกอ.
5.3 อาจสลับอาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาเพื่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้
5.2 ดำเนินการทบทวนทุกปีการศึกษาในกรณีที่พบปัญญา และทุก 5 ปีตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรของสกอ.
5.3 อาจสลับอาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาเพื่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้