หลักการวีดิทัศน์และโทรทัศน์

Principles of Video and Television

เพื่อให้นักศึกษาได้ศึกษาเกี่ยวกับหลักการและพัฒนาการของวีดิทัศน์ หลักการสร้างสรรค์ กระบวนการออกแบบวีดิทัศน์ดิจิทัล ความรู้เกี่ยวกับอุปกรณ์มาตรฐานวีดิทัศน์ดิจิทัล ประเภทและรูปแบบรายการวีดิทัศน์ในระบบออฟไลน์ และออนไลน์ในสื่อดิจิทัล
เปิดรายวิชานี้ครั้งแรก
ศึกษาเกี่ยวกับหลักการและพัฒนาการของวีดิทัศน์ หลักการสร้างสรรค์ กระบวนการออกแบบวีดิทัศน์ดิจิทัล ความรู้เกี่ยวกับอุปกรณ์มาตรฐานวีดิทัศน์ดิจิทัล ประเภทและรูปแบบรายการวีดิทัศน์ในระบบออฟไลน์ และออนไลน์ในสื่อดิจิทัล
Study principles and evolution of videos; the creation process and standard equipment of digital videos; types and styles of digital videos in offline and online digital media.
1 ชั่วโมง/สัปดาห์
- ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
- มีจิตอาสา จิตสำนึกสาธารณะ
สอดแทรกเรื่องคุณธรรม จริยธรรมในการสอน รวมทั้งมีการจัดกิจกรรมส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม  สอนความรู้ จรรยาบรรณทางด้านวิชาการและวิชาชีพในรายวิชาสอน ให้มีระเบียบวินัย ฝึกให้รู้หน้าที่ในการทำงาน มีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
ประเมินจากการตรวจสอบแผนการสอนในเรื่องของคุณธรรม จริยธรรม ในทุกวิชา ประเมินจากผลการดำเนินงานตามแผนการสอน และประเมินจากการสังเกตพฤติกรรม
- รอบรู้ในศาสตร์ทางศิลปกรรม และศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้อง
- มีความสามารถในการค้นคว้าแก้ปัญหา และพัฒนาทางด้านศิลปกรรมศาสตร์อย่างเป็นระบบ
- มีความรู้เกี่ยวกับมาตรฐานหรือธรรมเนียมปฏิบัติในการประกอบวิชาชีพด้านศิลปกรรมศาสตร์ในสาขาวิชาที่ศึกษา
ใช้การเรียนการสอนหลากหลายรูปแบบ โดยเน้นหลักการทางทฤษฎี และการประยุกต์ใช้ในการปฎิบัติงาน โดยทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี ทั้งนี้ให้เป็นไปตามลักษณะของรายวิชาตลอดจนเนื้อหาสาระของรายวิชานั้นๆ นอกจากนี้อาจจัดให้มีการเรียนรู้จากสถานการณ์จริงโดยการศึกษาดูงาน หรือเชิญผู้เชี่ยวชาญที่มีประสบการณ์ตรงมาเป็นวิทยากรพิเศษเฉพาะเรื่อง ตลอดจนการฝึกประสบการณ์หรือฝึกปฏิบัติงานในสถานประกอบการ
ประเมินจากผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และผลการปฏิบัติงานของนักศึกษา ในด้านต่างๆ คือ
          1) การทดสอบย่อย
         2)   การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน
          3)   ประเมินจากรายงานที่นักศึกษาจัดทำ
          4)   ประเมินจากการนำเสนอรายงานในชั้นเรียน
- สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์และเสนอแนวทางแก้ปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์
- สามารถบูรณาการความรู้กับศาสตร์อื่น เพื่อสร้างสรรค์ผลงานทางวิชาการ และวิชาชีพได้
ใช้กรณีศึกษา การจัดทำโครงงาน หรือการจัดทำศิลปนิพนธ์ การมอบหมายงานให้นักศึกษาสืบค้นข้อมูลวิเคราะห์ สังเคราะห์ และสรุปข้อมูล การนำเสนองาน โดยอภิปรายเดี่ยวหรือกลุ่ม ร่วมแสดงความคิดเห็น
ประเมินตามสภาพจริงจากผลงาน การปฏิบัติงานของนักศึกษา และการนำเสนองาน
- มีความรับผิดชอบต่องานของตนเอง และสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นอย่างมีประสิทธิภาพ
สอดแทรกเรื่องความสำคัญของการมีมนุษยสัมพันธ์ การมีมารยาททางสังคม  มอบหมายงานหรือจัดกิจกรรมโดยหมุนเวียนกันทำหน้าที่ผู้นำ และผู้ตาม การเคารพสิทธิ ยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่น การประสานงานกับบุคคลภายนอก การแสดงความคิดเห็น และการวิพากษ์วิจารณ์งานของผู้อื่น
ประเมินจากพฤติกรรม การแสดงออกในการนำเสนองาน ผลงานกลุ่มในชั้นเรียน และประเมินจากพฤติกรรมที่แสดงออกในการร่วมกิจกรรมต่างๆ
- สามารถสื่อสารด้วยการพูด ฟัง อ่าน เขียนในการสื่อสารโดยทั่วไป ตลอดจนใช้วิธีการสื่อสารทางศิลปกรรม และนำเสนองานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรายวิชา ให้นักศึกษาได้วิเคราะห์สถานการณ์จำลอง และสถานการณ์เสมือนจริง แล้วนำเสนอการแก้ปัญหาที่เหมาะสม เรียนรู้เทคนิคการประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศ ให้นักศึกษาค้นคว้างานที่ต้องอาศัยการประมวลผล โดยการใช้ตัวเลข เพื่อการจัดการข้อมูล และการนำเสนอที่เหมาะสมกับสภาพของผู้สื่อสาร
ประเมินจากความถูกต้องในการใช้ข้อมูล และตัวเลข การเลือกใช้เครื่องมือทางเทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสม ประเมินจากการอธิบาย และการนำเสนอ
ไม่มี
ไม่มี
ไม่มี
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. ด้านคุณธรรมจริยธรรม 2. ด้านความรู้ 3. ด้านทักษะทางปัญญา 4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.1 ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม 1.3 มีจิตอาสา จิตสำนึกสาธารณะ 2.1 รอบรู้ในศาสตร์ทางศิลปกรรม และศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้อง 2.2 มีความสามารถในการค้นคว้าแก้ปัญหา และพัฒนาทางด้านศิลปกรรมศาสตร์อย่างเป็นระบบ 2.4 มีความรู้เกี่ยวกับมาตรฐานหรือธรรมเนียมปฏิบัติในการประกอบวิชาชีพด้านศิลปกรรมศาสตร์ในสาขาวิชาที่ศึกษา 3.2 สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์และเสนอแนวทางแก้ปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์ 3.3 สามารถบูรณาการความรู้กับศาสตร์อื่น เพื่อสร้างสรรค์ผลงานทางวิชาการ และวิชาชีพได้ 4.2 มีความรับผิดชอบต่องานของตนเอง และสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นอย่างมีประสิทธิภาพ 5.1 สามารถสื่อสารด้วยการพูด ฟัง อ่าน เขียนในการสื่อสารโดยทั่วไป ตลอดจนใช้วิธีการสื่อสารทางศิลปกรรม และนำเสนองานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1 BAACD154 หลักการวีดิทัศน์และโทรทัศน์
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 คุณธรรมจริยธรรม ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม มีจิตอาสา จิตสำนึกสาธารณะ ตลอดภาคการศึกษา 10
2 ความรู้ แบบฝึกหัดท้ายบท สอบกลางภาค และสอบปลายภาค ตลอดภาคการศึกษา 60
3 ทักษะทางปัญญา รายงานการวิเคราะห์ สังเคราะห์และสร้างสรรค์ บทโทรทัศน์ สตอรี่บอร์ด ตลอดภาคการศึกษา 20
4 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ การทำงานเป็นทีม นำเสนอความคิด รับฟังความคิดเห็น ตลอดภาคการศึกษา 5
5 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ เลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูลเพื่อการสร้างสรรค์ผลงานหรือการนำเสนอผลงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ตลอดภาคการศึกษา 5
ทวีป สันติอาภรณ์. วีดิทัศน์และโทรทัศน์เบื้องต้น. เอกสารการสอน สาขาการออกแบบ คณะศิลปกรรมและสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา วิภา  อุดมฉันท์ (แปลและเรียบเรียง). การผลิตสื่อโทรทัศน์และวีดิทัศน์. โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 2538 องอาจ สิงห์ลำพอง. กระบวนการผลิตละครโทรทัศน์. ห้างหุ้นส่วนจำกัด สามลดา. 2557 อุษณีย์ ศิริสุนทรไพบูลย์. หลักการวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552 เอกธิดา เสริมทอง. การเขียนบทวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์. โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยศรีปทุม. 2552 Herbert Zettl. Television Productiom Handbook + Workbook. 11th edition: Wadsworth Cengage Learning. 2012
จันทร์ฉาย  เตมิยาคาร. การผลิตรายการโทรทัศน์. โอ.เอส.พริ้นติ้ง เฮาส์. 2532 เจน สงสมพันธุ์ และ วัลลภ ช่วงโชติ. ระบบภาพ video system. สถาบันอิเล็กทรอนิกส์กรุงเทพรังสิต. 2551 จิราภรณ์  สุวรรณวาจกกสิกิจ. เทคนิคการจัดรายการประเภทต่างๆ. เอกสารตำราประกอบการอบรมผู้ประกาศในกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์ระดับต้น. กสทช.ร่วมกับ MCOT ACADEMY. 2556 ดิเรก  วงษ์วานิช. คู่มือ+เทคนิคการทำ Video CD คุณภาพสูง. บริษัท ด่านสุทธาการพิมพ์ จำกัด. 2546 นิธินันท์ ยอแสงรัตน์. จรรยาบรรณสื่อและความรับผิดชอบต่อสังคมที่สื่อพึงมี. เอกสารการอบรมโครงการพัฒนาผู้ผลิตรายการระดับท้องถิ่นและภูมิภาคและผลิตรายการ เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้สำหรับเด็กและเยาวชน และครอบครัวให้เกิดการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ในระดับท้องถิ่นและภูมิภาค. จัดทำโดยมูลนิธิสำรวจโลก. 2557 สมบัติ ลีลาพตะ. ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์. เอกสารตำราประกอบการอบรมผู้ประกาศในกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์ระดับต้น. กสทช.ร่วมกับ MCOT ACADEMY. 2556 Jeff Foster. The green screen handbook :real-world production techniques . Wiley Publishing, Inc. 2010 Jeremy Hanke & Michele Yamazaki. Greenscreen Made Easy. 3rd edition: Sheridan Books, Inc. 2011 Jerry Holway & Laurie Hayball. The Steadicam Operator’s Handbook. 2nd edition: Focal Press.  2013 Ric Viers. The Location Sound Bible. Michel Wiese Productions. 2012 Sheila Curran Bernard. Documentary Story Telling. 3rd edition: Focal Press. 2011
กรกช  อัตตวิริยะนุภาพ. ภาพยนตร์เยอร์มัน ค.ศ. 1895-2011. โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยศิลปากร พระราชวังสนามจันทร์. 2555 ดวงธิดา  นครสันติภาพ. กบ- ON-AIR.  โรงพิมพ์ภาพพิมพ์. 2550 นรินทร์  นำเจริญ. ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการรายงานข่าว. สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 2549 บุญรักษ์  บุญญะเขตมาลา. โรงงานแห่งความฝัน สู่การวิจารณ์ภาพยนตร์สำนักบริบท. สำนักพิมพ์  พับลิค  บุเคอรี. 2552 บุญรักษ์ บุญญะเขตมาลา. ศิลปะแขนงที่ 7 เพื่อวัฒนธรรมแห่งการวิจารณ์ภาพยนตร์. พิมพ์ครั้งที่ 3 : สำนักพิมพ์พับลิค บุเคอรี. 2552 วรวรรธน์  ศรียาภัย. การเขียนเพื่อการสื่อสาร. สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 2555 Adam Juniper & David Newtown. 101 Top Tips for DSLR Video. Wiley Publishing, Inc. 2011 Barry Andersson and Janie L.Geyen . The DSLR FILMMAKER’S Handbook. John Wiley& Sons, Inc., 2012 Ben Long/ Sonja Schenk. The Digital filmmaking Handbook. 3rd edition: Thomson Delmar Learning. 2006 Ben Waggoner. Compression for Great Video and Audio. 2nd edition. Focal Press. 2010 Blain Brown. Cinematography theory and Practice. 2nd edition: Focal Press. 2012 Gretchen Davis + Mindy Hall. The Makeup Artist Handbook. 2nd edition: Focal Press. 2012 Gustavo  Mercado. The filmmaker’s eye. Focal Press. 2013 Ken Dancyger & Jeff Rush. Alternative Script writing Beyond the Hollywood formular Focal Press. 2013 Kurt Lancaster. DSLR CINEMA crafting the film look with large sensor video camera. 2nd edition: Focal Press. 2013 Mel Helitzer. Comedy Writing secrets. 2nd edition: Writer’s Digest Books. 2005 Richard Harrington. Creating DSLR Video From Snapshot to Great Shots. Peachpit Press. 2012 Roy Thompson & Christopher J. Bowen. Grammar of the shot. 2nd edition: Focal Press. 2009 Steve Stockman.  How to shoot video that doesn’t suck. Workman Publishing Company, Inc. 2011 Todd Debreceni. Special Makeup Effects for stage and screen. Focal Press. 2009
ให้นักศึกษาประเมินเมื่อสิ้นสุดการเรียนการสอนในประเด็นต่อไปนี้ 1.1 ให้นักศึกษาประเมินอาจารย์ผู้สอนในประเด็นต่อไปนี้ - ความตรงต่อเวลา - การแต่งกาย บุคลิกภาพ - คำพูดและวาจาสุภาพ เหมาะสม - การเป็นแบบอย่างที่ดี สอดแทรกคุณธรรมและจริยธรรมระหว่างการสอน - ความสามารถในการถ่ายทอดเนื้อหาให้เข้าใจและกระตุ้นการเรียนรู้ - แจ้งและสรุปวัตถุประสงค์การศึกษาหัวข้อที่สอน - จัดการเรียนการสอนให้เกิดการเรียนรู้ตรงกับที่ระบุไว้ในวัตถุประสงค์การศึกษา - การเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ซักถาม แสดงความคิดเห็นระหว่างการเรียนการสอน 1.2 ให้นักศึกษาประเมินภาพรวมของรายวิชาในประเด็นต่อไปนี้ - ความรู้ความสามารถโดยรวม และประโยชน์ที่ได้รับจากการเรียนรายวิชานี้ - ความพึงพอใจต่อการเรียนรายวิชานี้ - ข้อเสนอแนะอื่นๆ เช่นและการประเมินความพึงพอใจจากการเข้าร่วมโครงการประกวดการถ่ายภาพและบรรยายพิเศษ
ให้อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาหรืออาจารย์ที่ได้รับมอบหมาย ดำเนินการดังต่อไปนี้ 2.1 ให้นักศึกษาประเมินอาจารย์ผู้สอนและภาพรวมของรายวิชาตาม ข้อ ๑ 2.2 สุ่มสังเกตการสอนและประเมินการจัดการเรียนการสอนในประเด็นต่อไปนี้ (โดยเพื่อนอาจารย์) - ความตรงต่อเวลา - การแต่งกาย บุคลิกภาพ - คำพูดและวาจาสุภาพ เหมาะสม - การเป็นแบบอย่างที่ดี สอดแทรกคุณธรรมและจริยธรรมระหว่างการสอน - ความรู้ความสามารถทางวิชาการในหัวข้อที่สอน - ความสามารถในการถ่ายทอดเนื้อหาให้เข้าใจและกระตุ้นการเรียนรู้ - แจ้งและสรุปวัตถุประสงค์การศึกษาหัวข้อที่สอน - จัดการเรียนการสอนให้เกิดการเรียนรู้ตรงกับที่ระบุไว้ในวัตถุประสงค์การศึกษา - การเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ซักถาม แสดงความคิดเห็นระหว่างการเรียนการสอน 2.3 ให้อาจารย์ผู้สอนประเมินตนเองในประเด็นต่อไปนี้ - ความเหมาะสมของเวลาที่ใช้ในการเตรียมสอน - ความพึงพอใจของผู้สอนต่อผลการสอน - ข้อที่ควรปรับปรุงแก้ไขหรือพัฒนาตนเองในการสอนครั้งต่อไป
สาขาวิชาออกแบบสื่อสาร มีกลไกและวิธีการปรับปรุงการเรียนการสอนดังนี้ 3.1 ให้อาจารย์ผู้สอนแต่ละหัวข้อบันทึกเหตุการณ์ระหว่างการสอนที่สมควรนำเสนอให้พิจารณารวมทั้งสิ่งที่ควรปรับปรุงแก้ไขในแต่ละ คาบการสอน 3.2 ประชุม สัมมนาอาจารย์ผู้สอนเพื่อพิจารณาปรับปรุงการจัดการเรียนการสอนสำหรับปีการศึกษาต่อไปโดยอาศัยข้อมูลดังต่อไปนี้ / - ผลการศึกษาของนักศึกษา - ผลการประเมินประสิทธผลของรายวิชาโดยนักศึกษา - ผลการประเมินการสอน - บันทึกของกลุ่มอาจารย์ผู้สอน
สาขาวิชาออกแบบสื่อสาร มีกระบวนการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษา ดังนี้ - การสุ่มสัมภาษณ์โดยคณะกรรมการทวนสอบระดับหลักสูตร - การประเมินโดยกรรมการประจำหลักสูตร หรือผู้ทรงคุณวุฒิภายในภายนอก
เมื่อสิ้นสุดทุกปีการศึกษา อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาจะจัดประชุม /ติดต่อขอความคิดเห็นจากอาจารย์ที่ร่วมสอน รวมทั้ง พิจารณาสรุปผลการประเมินการสอน ผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษา เพื่อกำหนดประเด็นที่เห็นสมควรจัดให้มีการปรับปรุงในการศึกษา ต่อไป ทั้งเนื้อหา ลำดับการสอน วิธีการสอนและการประเมินผล ปรับปรุงรายวิชาและวิธีการจัดการเรียนการสอนในปีการศึกษาถัดไป ตามข้อเสนอแนะตามข้อเห็นของนักศึกษา ๑ ดำเนินการทบทวนปรับปรุงรายวิชาในทุก ๕ ปีตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรของ หรือ ในกรณีที่พบปัญหา มีวิทยากรจากภายนอกมาบรรยายเสริม เพื่อรับประสบการณ์หรือสภาพปัญหาในการทำงานจริง ปรับหัวข้องาน ปฏิบัติที่มอบหมาย หรือปรับหัวข้อในโครงการประกวดภาพถ่ายให้ตรงกับความสนใจของผู้เรียน