การทำหุ่นจำลอง

Model Making

ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับการทำหุ่นจำลอง สร้างทักษะการถ่ายทอดแบบสองมิติไปสู่สามมิติ เรียนรู้คุณสมบัติเฉพาะของวัสดุในการทำหุ่นจำลอง การใช้เทคโนโลยีในการสร้างต้นแบบ การตกแต่งผิว เคลือบผิว และกราฟิกบนหุ่นจำลอง
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐาน เป็นการเตรียมความพร้อม การนำความรู้ ความเข้าใจการทำหุ่นจำลอง เพื่อเป็นพื้นฐานการเรียนในวิชาที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ การออกแบบผลิตภัณฑ์ และโครงงานออกแบบผลิตภัณฑ์
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับการทำหุ่นจำลอง สร้างทักษะการถ่ายทอดแบบสองมิติไปสู่สามมิติ เรียนรู้คุณสมบัติเฉพาะของวัสดุในการทำหุ่นจำลอง การใช้เทคโนโลยีในการสร้างต้นแบบ การตกแต่งผิว เคลือบผิว และกราฟิกบนหุ่นจำลอง
อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ ขององค์กรและสังคมมีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
บรรยายพร้อมยกตัวอย่างเกี่ยวกับประเด็นทางคุณธรรม และจริยธรรม
พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
มีความรู้และเข้าใจ ประเภทของหุ่นจำลอง หลักการสร้างหุ่นจำลอง การเลือกใช้วัสดุที่เหมาะสมในการทำหุ่นจำลอง การใช้มาตราส่วน กรรมวิธีการขึ้นรูปและ การตกแต่งหุ่นจำลองในงานออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
บรรยาย  ยกตัวอย่าง และปฏิบัติงานโครงงาน Problem – based Learning
สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี
ประเมินจากการปฏิบัติงาน หรือโจทย์จาก Problem – based Learning
พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างเป็นระบบ มีการวิเคราะห์ เพื่อการป้องกันและแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น จากการทำหุ่นจำลอง
บรรยาย และการให้นักศึกษาปฏิบัติโครงงานที่ให้วิเคราะห์และแก้ไขปัญหา
การสะท้อนแนวคิดจากการประพฤติ
 
สอบปลายภาค  โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์สถานการณ์ หรือวิเคราะห์แนวคิดในการทำหุ่นจำลอง
วัดผลจากการประเมินชิ้นงาน
สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน
พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วนตามกำหนดเวลา
มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคล
การนำเสนอรายงาน
ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
ประเมินจากงานที่มอบหมาย
ทักษะการคิดคำนวณ เชิงตัวเลข
พัฒนาทักษะในการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง การเขียน
พัฒนาทักษะในการสืบค้น ข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
ทักษะในการนำเสนอรายงานโดยใช้รูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากเว็บไซต์ โดยเน้นการนำตัวเลข หรือมีสถิติอ้างอิง จากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ
นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี
ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
มีทักษะด้านการออกแบบผลงานและใช้เครื่องมือปฏิบัติงานสองมิติและงานสามมิติ
มีทักษะในการสร้างสรรค์ผลงาน
มีทักษะด้านแนวคิดทางการออกแบบ ด้านความงาม หรือด้านประโยชน์ใช้สอย
ศึกษาข้อมูลเพื่อสร้างแนวคิดในการออกแบบ
การอภิปรายกลุ่ม ร่วมแสดงความคิดเห็น
ให้นักศึกษาลงมือปฏิบัติสร้างผลงานสองมิติและสามมิติรวมทั้งนำเสนอผลงาน
ประเมินตามสภาพจริงโดยประเมินจากผลงานปฏิบัติของนักศึกษาที่มอบหมาย
แนวคิดในการออกแบบผลงาน
กระบวนการทำงานตามขั้นตอนของการสร้างสรรค์ผลงาน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรมจริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6.ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 1 2 3 1
1 BAAID147 การทำหุ่นจำลอง
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.3.1, 3.3.1 สอบกลางภาค สอบปลายภาค 8, 17 30%
2 2.32, 3.3.2, 3.3.3, 4.3.1, 4.3.2, 5.3.1, 5.3.2 การปฏิบัติงานและผลงาน โครงงาน (Project-Based Learning) ตลอดภาคการศึกษา ปลายภาคการศึกษา 60%
3 1.3.1 การเข้าชั้นเรียน การแต่งกาย การส่งงานตามเวลาที่กำหนด ตลอดภาคการศึกษา 10%
กฤษฎา  อินทรสถิตย์. การเขียนแบบสถาปัตยกรรมภายใน. กรุงเทพฯ : เอ็ม เอ เอช พริ้นติ้ง, 2546.  กสานติ์  ศิวะบวร. การออกแบบผลิตภัณฑ์ กลยุทธ์ การผลิตได้และขายดี. ฐานเศรษฐกิจฉบับวันที่  24  มีนาคม  -  18             เมษายน  2545.  กลุ่มศิลปิน 20 คน. งานกระดาษ. ม.ป.ท. : สำนักพิมพ์วิคตอรี่ เพาเวอร์พอยท์ จำกัด, ม.ป.ท.  จีรพันธ์  สมประสงค์. การสร้างสรรค์ประติมากรรมจากปูนปลาสเตอร์. กรุงเทพฯ : โอ. เอส. พริ้นติ้ง เฮาส์ จำกัด, 2533.  ชวลิต  ดาบแก้ว. งานพลาสติก. กรุงเทพฯ : โอ. เอส. พริ้นติ้ง เฮาส์ จำกัด, 2525.  ดนต์  รัตนทัศนีย์. ขบวนการออกแบบทางศิลปอุตสาหกรรม. กรุงเทพฯ : สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร             ลาดกระบัง, ม.ป.ป.  ________.  เทคโนโลยีเบื้องต้นสำหรับการออกแบบผลิตภัณฑ์พลาสติก. กรุงเทพฯ : สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณ             ทหารลาดกระบัง, ม.ป.ป.  ตระกูลพันธ์  พัชรเมธา. เครื่องกรองน้ำสำหรับพกพาในถิ่นกันดาร.  สารนิพนธ์วิทยาศาสตรบัณฑิต เทคโนโลยีออกแบบ             ผลิตภัณฑ์อุสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขตภาคพายัพ, 2537.                .  เอกสารประกอบการสอนเรื่องการทำหุ่นจำลอง. สาขาวิชาออกแบบอุตสาหกรรมวิทยาเขตภาคพายัพ สถาบัน             เทคโนโลยีราชมงคล, 2544. (โรเนียว)  ธีระชัย  สุขสด. การออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม. กรุงเทพฯ : โอ. เอส. พริ้นติ้ง เฮาส์ จำกัด, 2544.  นวลน้อย   บุญวงษ์. หลักการออกแบบ. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2539.  ประชิด  ทิณบุตร. การออกแบบกราฟิก. กรุงเทพฯ : โอ. เอส. พริ้นติ้ง เฮาส์ จำกัด, 2530.  ปราโมทย์  อ่อนประไพ. เครื่องมือเบื้องต้น. กรุงเทพฯ : ซีเอ็ด ยูเคชั่น, 2539.  ปุณณรัตน์  พิชญไพบูลย์. เครื่องเคลือบดินเผา. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2538.  พงศ์พัน  วรสุนทโรสถ. วัสดุก่อสร้าง. กรุงเทพฯ : โอ. เอส. พริ้นติ้ง เฮาส์ จำกัด, 2538.  พรสนอง  วงศ์สิงห์ทอง. วิธีวิทยาการวิจัยการออกแบบผลิตภัณฑ์. กรุงเทพฯ : เท็กซ์ แอนด์ เจอร์นัล พับลิเคชั่น จำกัด, 2545.  พิชิต  เลี่ยมพิพัฒน์. พลาสติก. พิมพ์ครั้งที่ 10. ม.ป.ท. : สำนักพิมพ์ หจก. ป. สัมพันธ์พานิชย์, 2536.                .  เอฟอาร์พี.  กรุงเทพฯ  :   สำนักพิมพ์ หจก. ป. สัมพันธ์พานิชย์, 2537.                .  เครื่องประดับ. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์ หจก. ป. สัมพันธ์พานิชย์, 2539.  มนตรี  ยอดบางเตย. ออกแบบผลิตภัณฑ์. กรุงเทพฯ : โอ. เอส. พริ้นติ้ง เฮาส์ จำกัด, 2538.  ทวิส  เพ็งสา. รูปร่างและประโยชน์ใช้สอย. กรุงเทพฯ : สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง, 2528.  ทัต  สัจจะวาที.  ก่อสร้างอาคาร บรรยายด้วยภาพ. กรุงเทพฯ : ซีเอ็ด ยูเคชั่น, 2544.  วรพงศ์  วรชาติอุดมพงศ์. ออกแบบกราฟิก. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ  :  หจก. รุ่งเรืองสาส์ การพิมพ์, 2538.                .  การออกแบบตกแต่ง. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ : โสภณการพิมพ์, 2539.  วัลลภ  เปรมานุพันธุ์. งานเคลือบผิวเครื่องเรือน. ม.ป.ท. : เอกสารประกอบการสอน แผนกวิชาช่างเคหภัณฑ์  วิทยาเขต                 เทคนิคกรุงเทพ, 2539.  วัลลภ  ไชยพรหม. ปูนปลาสเตอร์ศิลปะและการประดิษฐ์. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์ยูไนเต็ดท์ บุคส์, 2533.  วิราภรณ์  ปนาทกูล. คู่มือการประดิษฐ์และสร้างสรรค์มิติกระดาษ. กรุงเทพฯ : บริษัท เลิฟ แอนด์ ลิฟเพรส, 2536  วิเชียร  อินทรกระทึก. ประติมากรรม. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์อักษรพิพัฒน์ จำกัด, 2539.  ศิระ  จันทร์สวาสดิ์, ศานิต  ปันเขื่อนขัติย์ และสุพัตร์  ศรีพงษ์สุทธิ์. คู่มือช่างในบ้าน. กรุงเทพฯ : บริษัท อัมรินทร์ พริ้นติ้ง,                2546.  สมถวิล  อุรัสยะนันทน์. เครื่องปั้นดินเผา. ม.ป.ท., 2524.  สาคร  คันธโชติ. การออกแบบเครื่องเรือน. กรุงเทพฯ : โอ. เอส. พริ้นติ้ง เฮาส์ จำกัด, 2528.                . การออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์. กรุงเทพฯ : โอ. เอส. พริ้นติ้ง เฮาส์ จำกัด, 2528.                . วัสดุผลิตภัณฑ์. กรุงเทพฯ : โอ. เอส. พริ้นติ้ง เฮาส์ จำกัด, 2529.                . การสร้างแบบจำลองทางสถาปัตยกรรม วิศวกรรม และการออกแบบ. กรุงเทพ : โอ. เอส. พริ้นติ้ง เฮาส์ จำกัด,                2546.  อรอุษา  สรวารี. สารเคลือบผิว (สี วาร์นิช และแลกเกอร์). กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2537.  Atsuko Kamoshida. Industrial Design Workshop. Japan : Meisei Publication.,1993.  Brown, Sam. How to Paint with Brush and Spray. Chicago : Popular Mechanics Co., 951. Brushwell, William. Painting and Decorating Encyclopeadia. Illinois : Goodheart Willeox Co.,1973.  Noriyuki Nagashima and Kunio Sano. Industrial Design Workshop 2. Japan : Meisei Publication., 1994.  Toft, Peter. Craft Design and Technology for Gcse. London : Heinemann Education Book Ltd., 1987.  Yoshiharu Shimizu,  Takashi Kojima,  Masazo Tano and Shinji Matsuda. Models and Prototypes. Hong Kong :                Everbest Printing Co., Ltd., 1991.
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในการทำรายงาน
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาไว้ดังนี้ 
การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้  2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน  2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา  2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้ 
 
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้  3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้  4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร  4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
5. การดำเนินการทบทวนและวางแผนปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชา  จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้  5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4  5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์