การออกแบบเครื่องเงินและเครื่องทองไทย

Thai Silver and Gold Design

1.1 ศึกษาค้นคว้าความหมายของเครื่องเงินและเครื่องทองไทย
    1.2 ศึกษาค้นคว้าประวัติศาสตร์เครื่องเงินและเครื่องทองไทย
    1.3 ศึกษาค้นคว้าประเภทและรูปแบบของเครื่องเงินและเครื่องทองไทย
    1.4 ศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับการออกแบบและผลิตเครื่องเงินและเครื่องทองของไทย
    1.5 ศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับพฤติกรรมผู้บริโภคในการใช้เครื่องเงินและเครื่องทองไทย
    1.6 ศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับงานของช่างเครื่องเงินและเครื่องทอง
    1.7 ปฏิบัติการออกแบบเครื่องเงินและเครื่องทองไทยรูปแบบต่างๆ
    1.8 เห็นคุณค่าของงานเครื่องเงินและเครื่องทองไทย
เพื่อให้เนื้อหาของรายวิชามีความเหมาะสมกับสภาวะปัจจุบัน และเพื่อพัฒนากระบวนการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพสอดคล้องกับมาตรฐานผลการเรียนรู้ที่กำหนดไว้ ทั้งระบบออนไลน์และการเรียนในชั้นเรียน นอกจากนี้ยังเป็นพื้นฐานและเตรียมความพร้อมในการศึกษารายวิชาอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
ฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับความหมาย ประวัติศาสตร์ของเครื่องเงินเครื่องทองไทย ประเภทและรูปแบบของเครื่องเงินเครื่องทองไทย ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการออกแบบและผลิตเครื่องเงินเครื่องทองของไทย พฤติกรรมผู้บริโภคในการใช้เครื่องเงินและเครื่องทองไทย ช่างเครื่องเงินและเครื่องทอง การออกแบบเครื่องเงินและเครื่องทองไทยรูปแบบอนุรักษ์ รูปแบบสมัยใหม่ และรูปแบบร่วมสมัย
             Practice definition, history, types, and patterns of Thai silver and gold;  basic knowledge of design and manufacture of Thai silver and gold; consumer behavior; silversmith and goldsmith; design of Thai silver and gold in conserved, modern, and contemporary styles.
 
3.1 อาจารย์ผู้สอน  ประกาศเวลาให้คำปรึกษาภายในชั้นเรียน
   3.2 อาจารย์ผู้สอนจัดเวลาให้คำปรึกษาอย่างน้อย1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์
1.1 ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
1.2 มีทัศนคติที่เปิดกว้าง ยอมรับฟังแนวคิดของผู้อื่น
1.2.1 บรรยายและสอดแทรกเรื่องความซื่อสัตย์ สุจริต ทั้งทางด้านวิชาการและวิชาชีพทางด้านเครื่องเงินและเครื่องทองไทย และขานชื่อนักศึกษาเมื่อเข้าชั้นเรียน ตามกำหนดเวลาของเกณฑ์ที่กำหนดไว้
 1.2.2  บรรยายสอดแทรกเนื้อหาเรื่องการช่วยเหลือ การแบ่งปัน
1.3.1  การสังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาขณะอยู่ในชั้นเรียนและปริมาณการกระทำทุจริตในการสอบ และการตรวจสอบเวลาเรียน และการตรงเวลาของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียน
        1.3.2  การสังเกตพฤติกรรมในชั้นเรียนที่เกี่ยวกับการช่วยเหลือการแบ่งปัน
2.1.1 รอบรู้ในศาสตร์ทางศิลปกรรมและศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้อง
      2.1.2 มีความรู้ในทางศิลปะที่สัมพันธ์กับบริบททางสังคม ภูมิปัญญาและวัฒนธรรม
2.2.1 บรรยายเนื้อหาที่เกี่ยวข้อง และยกตัวอย่างประเด็นเนื้อหาที่เกี่ยวข้องกับงานออกแบบเครื่องเงิน เครื่องทองไทย ที่มีความสัมพันธ์กับงานออกแบบอื่นๆ
2.2.2 บรรยาย  ยกตัวอย่าง งานเครื่องเงิน เครื่องทองไทย รูปแบบต่างๆ
2.3.1   สอบปฏิบัติกลางภาคและปลายภาคทั้งในชั้นเรียน และระบบออนไลน์ด้วยโปรแกรม Ms Teams จากโจทย์ที่เน้นความสามารถด้านการออกแบบเครื่องเงินเครื่องทองไทย
2.3.2   สอบปฏิบัติย่อยระหว่างภาค ทั้งในชั้นเรียนและระบบออนไลน์ด้วยโปรแกรม Ms Teams ในเนื้อหาที่เน้นความสามารถด้านการออกแบบเครื่องเงินเครื่องทองไทย
3.1.1 สามารถค้นคว้า รวบรวม และประเมินข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย อย่างมีวิจารณญาณ
        3.1.4 มีความคิดสร้างสรรค์ และมีปฏิภาณไหวพริบในการสร้างผลงาน
3.2.1 สาธิตการปฏิบัติงานออกแบบเครื่องเงินเครื่องทองไทย ทั้งในชั้นเรียนและระบบออนไลน์ด้วยโปรแกรม Ms Teams แล้วให้ นักศึกษาศึกษาค้นคว้าจากแหล่งข้อมูลต่างๆ
         3.2.4  สาธิตการปฏิบัติงานออกแบบเครื่องเงินเครื่องทองไทย เป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่ม ทั้งในชั้นเรียนและระบบออนไลน์ด้วยโปรแกรม Ms Teams แล้วให้นักศึกษาใช้ความคิดร่วมกัน เพื่อแก้ปัญหาในงานออกแบบ
3.3.1  สอบปฏิบัติงานออกแบบเครื่องเงินเครื่องทองไทย ทั้งในชั้นเรียนและระบบออนไลน์ด้วยโปรแกรม Ms Teams จากผลงานที่เคยศึกษาค้นคว้าจากแหล่งข้อมูลต่างๆ
      3.3.4  ผลงานหรือชิ้นงานที่ใช้ความคิดสร้างสรรค์ในการแก้ปัญหา การปฏิบัติงานของนักศึกษาทั้งในชั้นเรียนและระบบออนไลน์ด้วยโปรแกรม Ms Teams
4.1.2 มีความรับผิดชอบต่องานของตนเอง และสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ
          4.1.3 สามารถแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล ตรงไปตรงมา และเคารพใน   ความคิดเห็นที่แตกต่าง 
4.2.2 มอบหมายงานรายกลุ่ม รูปแบบของรายงาน หรือกิจกรรมกลุ่มทั้งในชั้นเรียนและระบบออนไลน์ด้วยโปรแกรม Ms Teams ที่เกี่ยวข้องกับงานออกแบบเครื่องเงินเครื่องทองไทย
          4.2.3 มอบหมายงานปฏิบัติออกแบบเครื่องเงินเครื่องทองไทย เป็นรายกลุ่ม
4.3.2  ประเมินจากผลงานที่ร่วมกันอภิปราย  พฤติกรรมการทำงานเป็นทีมทั้งในชั้นเรียนและระบบออนไลน์ด้วยโปรแกรม Ms Teams
4.3.3  ประเมินจากงานปฏิบัติกลุ่ม หรือกิจกรรมกลุ่ม ที่มอบหมายทั้งในชั้นเรียนและระบบออนไลน์ด้วยโปรแกรม Ms Teams 
5.1.1  สามารถสื่อสารด้วยการพูด ฟัง อ่าน เขียนในการสื่อสารโดยทั่วไป ตลอดจนใช้วิธีการสื่อสารทางงานออกแบบเครื่องเงินเครื่องทองไทย และนำเสนองานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
           5.1.2 สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูลเพื่อการสร้างสรรค์ผลงานหรือการนำเสนอผลงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5.2.1 ให้นักศึกษาฝึกการอ่านเนื้อหา คำสั่ง ในงานออกแบบเครื่องเงินเครื่องทอง ที่เป็นภาษาไทย และอภิปราย
5.2.2  สอนแบบสาธิตให้นักศึกษาได้ฝึกการปฏิบัติออกแบบเครื่องเงินเครื่องทองไทย ที่ต้องมีการคำนวณตัวเลขและการใช้สื่อสารสนเทศช่วยการสืบค้น
5.3.1 พฤติกรรมในการสื่อสาร ฟัง อ่าน พูด และการนำเสนองานด้วยภาษาไทยอย่างถูกต้อง
               5.3.2 ผลงานปฏิบัติที่เกิดจากการใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม เช่น โทรศัพท์ คอมพิวเตอร์
6.1.1 สามารถใช้ทักษะปฏิบัติทางศิลปกรรมศาสตร์ในการสร้างสรรค์ผลงานของตนเอง
บรรยายเนื้อหา และให้นักศึกษาปฏิบัติงานออกแบบเครื่องเงินเครื่องทองไทย ตามหลักการที่บรรยาย
        ประเมินจากงานปฏิบัติออกแบบของนักศึกษา
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ท้กษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช่เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 1 2 3 1
1 BAATJ171 การออกแบบเครื่องเงินและเครื่องทองไทย
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.1 1.1 สอบปฏิบัติกลางภาค ในชั้นเรียน 1.2 สอบปฏิบัติปลายภาค ในชั้นเรียน 9 และ 17 1.1 สอบปฏิบ้ติกลางภาค ร้อยละ 10 1.2 สอบปฏิบ้ติปลายภาค ร้อยละ 10
2 3.1 4.1 5.1 2.1 การปฏิบัติงานออกแบบเครื่องเงินเครื่องทอง ในชั้นเรียนและระบบออนไลน์ Ms Teams 2.2 การมีส่วนร่วมในกิจกรรมและปฏิสัมพันธ์ระหว่างเพื่อนร่วมชั้นในชั้นเรียน และผ่านระบบออนไลน์ Ms Teams 2.3 ความสามารถในการวิเคราะห์งาน ผลงานการศึกษาค้นคว้า พฤติกรรมการเลือกใช้เทคโนโลยีเพื่อการสืบค้น รวมถึงการติดต่อสื่อสารระหว่างผู้สอนและผู้เรียน ทั้งในชั้นเรียนและออนไลน์ Ms Teams ตลอดภาคการศึกษา ร้อยละ 70
3 1.1 3.1 สังเกตการเข้าชั้นเรียน / ความตั้งใจในชั้นเรียนและระบบออนไลน์ Ms Teams 3.2 สังเกตความรับผิดชอบในชั้นเรียนและระบบออนไลน์ Ms Teams 3.3 สังเกตการแต่งกาย ในชั้นเรียนและระบบออนไลน์ Ms Teams ตลอดภาคการศึกษา ร้อยละ 10
ธนาคารแห่งประเทศไทย.(2540). เงินตราล้านนาและผ้าไทย. กรุงเทพฯ : อัมรินทร์พริ้นติ้ง
              แอนด์พับลิชชิ่ง จำกัด.
นิดา  หงษ์วิวัฒน์.(2555). เครื่องทองรัตนโกสินทร์. กรุงเทพฯ : ซีเอ็ดยูเคชั่น.
นวพร เพชรแก้ว. (2560). พฤติกรรมและส่วนประสมทางการตลาดของผู้บริโภคที่มีผลต่อ
              การตัดสินใจซื้อเครื่องประดับเงินในประเทศไทย.วารสารวิทยาลัยโลจิสติกส์และซัพพลายเชน,     
              3(2). (กรกฎาคม - ธันวาคม 2560). หน้า 35-45.
บุหลง ศรีกนก และ ภูธิปนิธิศร์ คงโภคานันท์ .(2549). ช่างสิบหมู่.กรุงเทพฯ : อัมรินทร์พริ้นติ้ง
พอล บร๊อมเบิร์ก.(2562). เครื่องเงินและเครื่องถมไทย. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์กรุงเทพฯ จำกัด.
สง่า อนุศิลป์. (2564). การพัฒนาผลิตภัณฑ์เครื่องเงินและเครื่องทองเชิงวัฒนธรรมสมัยรัตนโกสินทร์เพื่อ 
               สร้างมูลค่าเพิ่มของผลิตภัณฑ์.วารสารวิชาการศรีปทุม,17(3). (มกราคม-มีนาคม 2564).
                หน้า 32-43.
สุวพร ทองทิว.(2534). มรดกแผ่นดิน. กรุงเทพฯ : ด่านสุทธาการพิมพ์ จำกัด.
Campbell Margaret. (1978). From the Hands of the Hills. Toppan Printing.Co.Ltd.
ภาพตัวอย่างผลงานเครื่องเงินและเครื่องทองไทย ในสื่อสารสนเทศต่างๆ
 
    3.1 คลิปวิดีโอหรือสารคดีเกี่ยวกับการผลิตเครื่องเงินเครื่องทองไทยของภาคต่างๆ     3.2 การศึกษาดูงานการผลิตเครื่องเงินเครื่องทองในภาคต่างๆ
    3.3 เอกสาร / หนังสือเกี่ยวกับเครื่องเงินชนเผ่าในภาคเหนือ
1.1 การสนทนาระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
      1.2 แบบประเมินผลผู้สอน และแบบประเมินรายวิชาตามข้อกำหนดของมหาวิทยาลัย
2.1   การสังเกตการณ์พฤติกรรมการเรียนของนักศึกษา
2.2   การอภิปรายของผู้เรียนต่อเนื้อหาที่เรียน
2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
2.4   การตรวจผลงานของนักศึกษา ที่เป็นผลการปฏิบัติงานออกแบบเครื่องเงินเครื่องทอง
3.1ทบทวนเนื้อหา และวิธีการสอนให้สอดคล้องกับเกณฑ์กำหนด
3.2 หาแนวทาง และวิธีการสอนที่เหมาะสมกับสภาวะปัจจุบัน
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนนักศึกษาตามเกณฑ์ของมหาวิทยาลัย
4.2  การประเมินผลสัมฤทธิ์ตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ 6 ด้าน
4.3 การประเมินผลสัมฤทธิ์การปฏิบัติงานของนักศึกษาและผลงานตามที่มอบหมาย
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี ตามผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2   การประชุมกรรมการประจำหลักสูตรเพื่อพิจารณาปรับปรุงประสิทธิผลรายวิชา