ระเบียบวิธีวิจัยทางการออกแบบ

Research Methodology in Design

1. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับระเบียบแบบแผนวิจัยทางการออกแบบ
2. มีความเข้าใจเกี่ยวกับการเขียนโครงร่างงานวิจัย ตั้งแต่กระบวนการกำหนดปัญหางานวิจัย การหาวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง การสร้างเครื่องมือและเก็บรวบรวมข้อมูลสำหรับนำมาใช้ในการเขียนปัญหาของงานวิจัย
3. มีความเข้าใจการเขียนรายงานวิจัย และการนำเสนอโครงร่างผลงานวิจัย
          ระเบียบแบบแผนวิจัยทางการออกแบบ การกำหนดปัญหาวิจัย การเขียนโครงร่างงานวิจัย วรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง การสร้างเครื่องมือ การเก็บรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล การสรุปผลการวิจัย การเขียนรายงานวิจัย และการนำเสนอผลงานวิจัย
2 ชั่วโมง โดยระบุวัน เวลา  ไว้ในตารางสอนและแจ้งให้นักศึกษาทราบในชั่วโมงแรกของการสอน
ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม มีทัศนคติที่เปิดกว้าง ยอมรับฟังแนวคิดของผู้อื่น มีจิตอาสา จิตสำนึกสาธารณะ
สอดแทรกกิจกรรมในระหว่างการสอนเกี่ยวกับคุณธรรม จริยธรรมในการสอนให้กับนักศึกษา สอดแทรกความรู้ทางด้านจรรยาบรรณด้านวิชาการและวิชาชีพให้กับนักศึกษาในรายวิชา สอนให้นักศึกษารู้จักหน้าที่ ความรับผิดชอบในการทำงานต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
1. การตรงต่อเวลาของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที่มอบหมาย
                2. ความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
1. มีความสามารถในการค้นคว้าแก้ปัญหา  และพัฒนาทางด้านศิลปกรรมศาสตร์ อย่างเป็นระบบ
            2. รอบรู้ในศาสตร์ทางศิลปกรรม และศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้อง
            3. มีความรู้เกี่ยวกับมาตรฐานหรือธรรมเนียมปฏิบัติในการประกอบวิชาชีพด้านศิลปกรรมศาสตร์ในสาขาวิชาที่ศึกษา
เน้นหลักการทฤษฏีระเบียบวิธีวิจัยและความเปลี่ยนแปลงหรือสถานการณ์ทางด้านบรรจุภัณฑ์

ในปัจจุบันเพื่อให้นักศึกษานำมาเป็นโจทย์ปัญหาในการกำหนดโครงร่างงานวิจัย
ประเมินผลจากการมอบหมายงาน
สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์และเสนอแนวทางแก้ปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์ สามารถค้นคว้า รวบรวมและประเมินข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลายอย่างมีวิจารณญาณ สามารถบูรณาการความรู้กับศาสตร์อื่น เพื่อสร้างสรรค์ผลงานทางวิชาการและวิชาชีพได้
1. ให้นักศึกษาเสนอหัวข้อโครงร่างงานวิจัย และให้สืบค้นข้อมูลวิเคราะห์ สังเคราะห์และสรุปข้อมูล ตามวิธีการทำงานวิจัย และนำเสนอผลงาน
            1. การปฏิบัติงานของนักศึกษาและการนำเสนอ
            1. สามารถแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล ตรงไปตรงมา และเคารพในความคิดเห็นที่แตกต่าง
            2. มีความรับผิดชอบต่องานของตนเอง และสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นอย่างมีประสิทธิภาพ
สอดแทรกเคารพสิทธิ   การยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่น  และการวิพากษ์วิจารย์ของผู้อื่น

ให้กับนักศึกษา

ฝึกให้นักศึกษามีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี
1. พฤติกรรมและการแสดงออกของนักศึกษาในการนำเสนอผลงานโครงร่างงานวิจัย
สามารถสื่อสารด้วยการพูด ฟัง อ่าน เขียนในการสื่อสารโดยทั่วไปตลอดจนใช้วิธีการสื่อสารทาง

ศิลปกรรม และนำเสนองานได้อย่างมีประสิทธิภาพ

สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูลเพื่อการสร้างสรรค์ผลงานหรือการ

นำเสนอผลงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
            3. มีความสามารถในการประยุกต์ใช้ความรู้เชิงตัวเลข หรือเทคโนโลยีที่เหมาะสมสำหรับงานศิลปกรรม
จัดกิจกรรมให้นักศึกษาได้นำเสนอการแก้ไขปัญหา ตลอดจนการประยุกต์การสืบค้นด้วย

เทคโนโลยี

นักศึกษาสามารถนำเสนอโดยใช้สื่อให้เหมาะสม
            1. การเลือกใช้เครื่องมือทางเทคโนโลยีสารสนเทศเหมาะสมในการนำเสนอโครงร่างงานวิจัย
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1. ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม 2. มีทัศนคติที่เปิดกว้าง ยอมรับฟังแนวคิดของผู้อื่น 3. มีจิตอาสา จิตสำนึกสาธารณะ 1. มีความสามารถในการค้นคว้าแก้ปัญหา และพัฒนาทางด้านศิลปกรรมศาสตร์ อย่างเป็นระบบ 2. รอบรู้ในศาสตร์ทางศิลปกรรม และศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้อง 3. มีความรู้เกี่ยวกับมาตรฐานหรือธรรมเนียมปฏิบัติในการประกอบวิชาชีพด้านศิลปกรรมศาสตร์ในสาขาวิชาที่ศึกษา 1. สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์และเสนอแนวทางแก้ปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์ 2. สามารถค้นคว้า รวบรวมและประเมินข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลายอย่างมีวิจารณญาณ 3. สามารถบูรณาการความรู้กับศาสตร์อื่น เพื่อสร้างสรรค์ผลงานทางวิชาการและวิชาชีพได้ 1. สามารถแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล ตรงไปตรงมา และเคารพในความคิดเห็นที่แตกต่าง 2. มีความรับผิดชอบต่องานของตนเอง และสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นอย่างมีประสิทธิภาพ 1. สามารถสื่อสารด้วยการพูด ฟัง อ่าน เขียนในการสื่อสารโดยทั่วไปตลอดจนใช้วิธีการสื่อสารทาง ศิลปกรรม และนำเสนองานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2. สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูลเพื่อการสร้างสรรค์ผลงานหรือการ นำเสนอผลงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3. มีความสามารถในการประยุกต์ใช้ความรู้เชิงตัวเลข หรือเทคโนโลยีที่เหมาะสมสำหรับงานศิลปกรรม
1 BAACC403 ระเบียบวิธีวิจัยทางการออกแบบ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 คุณธรรม จริยธรรม 1. การตรงต่อเวลาของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที่มอบหมาย 2. ความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 10%
2 ความรู้ ประเมินผลจากการมอบหมายงาน 9 และ 17 40%
3 ทักษะทางปัญญา การปฏิบัติงานของนักศึกษาและการนำเสนอ ตลอดภาคการศึกษา 20%
4 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ พฤติกรรมและการแสดงออกของนักศึกษาในการนำเสนอผลงานโครงร่างงานวิจัย ตลอดภาคการศึกษา 10%
5 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขการสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ การเลือกใช้เครื่องมือทางเทคโนโลยีสารสนเทศเหมาะสมในการนำเสนอโครงร่างงานวิจัย ตลอดภาคการศึกษา 20%
ประเวศน์  มหารัตน์สกุล. (2557). หลักการและวิธีการเขียนงานวิจัย วิทยานิพนธ์ สารนิพนธ์. สำนักพิมพ์ปัญญาชน. กทม.
          สุภางค์  จันทวานิช. (2565). วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ. สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. กทม.
การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
2.1   การสังเกตการณ์สอน
2.2   ผลงานของนักศึกษา
2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการนำเสนอผลงานโครงร่างงานวิจัยของนักศึกษาเป็นรายบุคคล
4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในการขึ้นสอบโครงร่างงานวิจัยของนักศึกษา
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ