เทคโนโลยีหลังพิมพ์

Post-press Technology

1. มีทักษะปฏิบัติการวางแผน จัดการ การผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ตามกระบวนการงานหลังพิมพ์
2. มีทักษะปฏิบัติการเพิ่มมูลค่าสิ่งพิมพ์ด้วยเทคนิคงานทำสำเร็จโดยอาศัยเทคโนโลยีหรือเครื่องจักรในการผลิต
3. มีทักษะปฏิบัติการเพิ่มมูลค่าสิ่งพิมพ์ด้วยเทคนิคงานแปรรูปโดยอาศัยเทคโนโลยีหรือเครื่องจักรในการผลิต
4. มีทักษะในการวิเคราะห์ แก้ไขปัญหา และตรวจสอบคุณภาพการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์
ฝึกปฏิบัติการวางแผน การจัดการ การเพิ่มมูลค่าให้กับงานสิ่งพิมพ์ และการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ ตามกระบวนการงานหลังพิมพ์ ด้วยเทคนิคการแปรรูป เทคนิคการทำสำเร็จ  สำหรับตกแต่งสิ่งพิมพ์ โดยใช้เทคโนโลยีหรือเครื่องจักรที่เหมาะสม วิเคราะห์ ปัญหา แก้ไข ตรวจสอบคุณภาพงานหลังพิมพ์
2 ชั่วโมง โดยระบุวัน เวลา  ไว้ในตารางสอนและแจ้งให้นักศึกษาทราบในชั่วโมงแรกของการสอน
  1. ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
  2. มีทัศนคติที่เปิดกว้าง ยอมรับฟังแนวคิดของผู้อื่น
ปลูกฝังให้นักศึกษามีระเบียบวินัย โดยเน้นการเข้าชั้นเรียนให้ตรงเวลา ตลอดจนการแต่งกายที่

เป็นไปตามระเบียบของมหาวิทยาลัยฯ
            2. นักศึกษามีความรับผิดชอบและฝึกให้มีความเป็นผู้นำกลุ่มและเป็นสมาชิกกลุ่ม มีความซื่อสัตย์ไม่กระทำการทุจริตในการสอบหรือคัดลอกผลงานที่ได้รับมอบหมายของผู้อื่น
            3. สอดแทรกคุณธรรม จริยธรรมที่เกี่ยวข้องระหว่างการเรียนการสอน
1. การตรงต่อเวลาของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที่มอบหมาย
                2. ความรับผิดขอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
            1. รอบรู้ในศาสตร์ทางศิลปกรรม และศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้อง
            2. มีความสามารถในการค้นคว้า แก้ปัญหา และพัฒนาด้านศิลปกรรมศาสตร์อย่างเป็นระบบ
            3. มีความรู้เกี่ยวกับมาตรฐานหรือธรรมเนียมปฏิบัติในการประกอบวิชาชีพด้านศิลปกรรมศาสตร์ในสาขาวิชาที่ศึกษา
1. บรรยาย อภิปรายในชั้นเรียนและการซักถามตอบข้อปัญหาที่นักศึกษาไม่เข้าใจ
            2. สาธิตและนักศึกษาฝึกปฏิบัติในห้องปฏิบัติงาน
            3. การทำงานกลุ่มและเดี่ยว ตลอดจนการนำเสนอหน้าชั้นเรียนและรายงาน
            1. การสอบกลางภาค ปลายภาคเรียน
            1. สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์ และเสนอแนวทางแก้ปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์
            2. สามารถบูรณาการความรู้กับศาสสตร์อื่น เพื่อสร้างสรรค์ผลงานวิชาการและวิชาชีพได้
            3. สามารถค้นคว้า รวบรวม และประเมินข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลายอย่างมีวิจารณญาณ
            1. การมอบหมายใบงานฝึกปฏิบัติโดยให้นักศึกษาสามารถวิเคราะห์ และแก้ไขปัญหาในระหว่างการปฏิบัติงานได้
            2. การนำเสนอแนวคิดในการปฏิบัติงานตามใบงานปฏิบัติในแต่ละสัปดาห์
            1. การมอบหมายและปฏิบัติงานร่วมกับการวิเคราะห์ สังเคราะห์ตามใบงานที่มอบหมาย
          2. การนำเสนอผลงานสำเร็จและรายงานหน้าชั้น
1. มีภาวะผู้นำเข้าใจบทบาทหน้าที่ของตนเอง รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น และมนุษยสัมพันธ์ที่ดี
            2. มีความรับผิดชอบต่องานของตนเอง และสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นอย่างมีประสิทธิภาพ
            1. นักศึกษาสามารถนำเสนอหัวข้อในการปฏิบัติงานร่วมกันระหว่างอาจารย์ผู้สอนและสมาชิกภายในกลุ่มได้
            2. นักศึกษาปฏิบัติงานตามหน้าที่ความรับผิดชอบของแต่ละคนร่วมกันภายในกลุ่ม
            3. มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีร่วมกันภายในกลุ่ม
            1. พฤติกรรมและการแสดงออกของนักศึกษาในขณะปฏิบัติงานและทำกิจกรรมร่วมกันภายในห้องเรียน
            2. การมีมารยาทและจิตสาธารณกับผู้อื่น รวมถึงการแสดงความคิดเห็น
            1. สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูลเพื่อการสร้างสรรค์ผลงานหรือการนำเสนอผลงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
            2. มีความสามารถในการประยุกต์ในความรู้เชิงตัวเลข หรือเทคโนโลยีที่เหมาะสมสำหรับงานศิลปกรรม
            1. การใช้เรียนรู้เทคโนโลยีสำหรับประยุกต์ใช้ในการนำเสนองานที่ได้รับมอบหมายให้เหมาะสม
            2. การค้นคว้าข้อมูลเพิ่มเติมหรืออ้างอิงด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศสำหรับใช้ในการทำงานสร้างสรรค์
            1. การนำเสนอโดยใช้สื่อที่เหมาะสม
            1. มีทักษะในการหาแนวทางปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง
            1. สาธิตวิธีการปฏิบัติงาน
            2. ดูแล ให้คำแนะนำ ปรึกษาขณะนักศึกษาปฏิบัติงาน
            1. กระบวนการทำงานถูกต้องตามขั้นตอน
            2. ผลงานสำเร็จที่มีคุณภาพ
            3. เสร็จตรงตามกำหนดเวลา
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1. ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม 2. มีทัศนคติที่เปิดกว้าง ยอมรับฟังแนวคิดของผู้อื่น 1. รอบรู้ในศาสตร์ทางศิลปกรรม และศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้อง 2. มีความสามารถในการค้นคว้า แก้ปัญหา และพัฒนาด้านศิลปกรรมศาสตร์อย่างเป็นระบบ 3. มีความรู้เกี่ยวกับมาตรฐานหรือธรรมเนียมปฏิบัติในการประกอบวิชาชีพด้านศิลปกรรมศาสตร์ใน 1. สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์ และเสนอแนวทางแก้ปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์ 2. สามารถบูรณาการความรู้กับศาสสตร์อื่น เพื่อสร้างสรรค์ผลงานวิชาการและวิชาชีพได้ 3. สามารถค้นคว้า รวบรวม และประเมินข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลายอย่างมีวิจารณญาณ 1. มีภาวะผู้นำเข้าใจบทบาทหน้าที่ของตนเอง รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น และมนุษยสัมพันธ์ที่ดี 2. มีความรับผิดชอบต่องานของตนเอง และสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นอย่างมีประสิทธิภาพ 1. สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูลเพื่อการสร้างสรรค์ผลงานหรือการนำเสนอผลงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2. มีความสามารถในการประยุกต์ในความรู้เชิงตัวเลข หรือเทคโนโลยีที่เหมาะสมสำหรับงาน 1. มีทักษะในการหาแนวทางปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง
1 BAADP114 เทคโนโลยีหลังพิมพ์
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 คุณธรรม จริยธรรม 1. การตรงต่อเวลาของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที่มอบหมาย 2. ความรับผิดขอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 5
2 ความรู้ 1. การสอบกลางภาค ปลายภาคเรียน 2. ประเมินผลงานสำเร็จจากทักษะการปฏิบัติ 3. ประเมินผลจากการนำเสนอและรายงานในชั้นเรียน 4. วิธีการปฏิบัติงานถูกต้องตามขั้นตอน กลางภาคและ ปลายภาค 20
3 ทักษะทางปัญญา 1. การมอบหมายและปฏิบัติงานร่วมกับการวิเคราะห์ สังเคราะห์ตามใบงานที่มอบหมาย 2. การนำเสนอผลงานสำเร็จและรายงานหน้าชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา (ใบงาน 15 สัปดาห์) 30 (ใบงานสัปดาห์ละ 2 คะแนน)
4 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 1. พฤติกรรมและการแสดงออกของนักศึกษาในขณะปฏิบัติงานและทำกิจกรรมร่วมกันภายในห้องเรียน 2. การมีมารยาทและจิตสาธารณกับผู้อื่น รวมถึงการแสดงความคิดเห็น ตลอดภาคการศึกษา 10
5 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขการสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 1. การนำเสนอโดยใช้สื่อที่เหมาะสม ตลอดภาคการศึกษา (ใบงาน 15 สัปดาห์) 5 (ใบงานสัปดาห์ละ 0.33-0.34 คะแนน)
6 ทักษะพิสัย 1. กระบวนการทำงานถูกต้องตามขั้นตอน 2. ผลงานสำเร็จที่มีคุณภาพ 3. เสร็จตรงตามกำหนดเวลา ตลอดภาคการศึกษา (ใบงาน 15 สัปดาห์) 30 (ใบงานสัปดาห์ละ 2 คะแนน)
1. ชนัสสา  นันทิวัชรินทร์. (2563) . การพิมพ์และตกแต่งบรรจุภัณฑ์. ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับบรรจุภัณฑ์
หน่วยที่  8-12. พิมพ์ครั้งที่ 5. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.  นนทบุรี.
2. บุญชัย  วลีธรชีพสวัสดิ์. (2561) . งานหลังพิมพ์. ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการพิมพ์ หน่วยที่ 8-12. ฉบับปรุงปรุง
พิมพ์ครั้งที่ 2 (2561). มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.  นนทบุรี. 
3. บุญเลี้ยง  แก้วนาพันธ์. (2562). การออกแบบสิ่งพิมพ์. เทคโนโลยีก่อนพิมพ์ หน่วยที่ 1-7. ปรับปรุงครั้งที่ 2
พิมพ์ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2562. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.  นนทบุรี. 
4. มยุรี  ภาคลำเจียก. (2563) . การพัฒนาและออกแบบบรรจุภัณฑ์. ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับบรรจุภัณฑ์ หน่วยที่
8-12. พิมพ์ครั้งที่ 5. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.  นนทบุรี. 
5. มยุรี ภาคลำเจียก. (2559). การทำรูปทรงกล่องกระดาษแข็ง. เทคนิคงานหลังพิมพ์ หน่วยที่ 8-15.
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.  นนทบุรี. 
6. ไชยวัฒน์ จิรพัทธพงศ์.(2555). งานตัด. เทคนิคหลังพิมพ์ หน่วยที่ 1-7. พิมพ์ครั้งที่ 2 พ.ศ. 2555.
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.  นนทบุรี. 
7. สุภาวดี  เทวาสะโณ. (2555). การเคลือบวาร์นิชและการลามิเนตในงานหลังพิมพ์สำหรับสิ่งพิมพ์กระดาษ.
เทคนิคหลังพิมพ์ หน่วยที่ 1-7. พิมพ์ครั้งที่ 2 พ.ศ. 2555. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.  นนทบุรี. 
8. อุดม ควรผดุง. (2555). งานเดินรอยร้อน งานดุนนูน และงานอัดตัดตามแม่แบบ. เทคนิคหลังพิมพ์
หน่วยที่ 1-7. พิมพ์ครั้งที่ 2 พ.ศ. 2555. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.  นนทบุรี. 
การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา แบบประเมินผู้สอนโดยผู้เรียน
2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ