เคมีเบื้องต้นสำหรับอุตสาหกรรมอาหาร
Basic Chemistry for Food Industry
1. เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับพื้นฐานทางเคมี หลักการใช้เครื่องมือ การชั่ง-ตวงทางวิทยาศาสตร์ พื้นฐานทางทฤษฎีอะตอม โครงสร้างทางอิเล็กตรอนของอะตอม สมบัติตามตารางธาตุพีริออดิก ธาตุเรฟพรีเซนเททีฟ อโลหะและธาตุแทรนซิซัน พันธะเคมี ปริมาณสารสัมพันธ์ สมบัติของก๊าซ ของแข็ง ของเหลวและสารละลายกรด-เบส สมดุลเคมี ปฏิกิริยาออกซิเดชันและรีดักชัน จลนศาสตร์เคมี ไฟฟ้าเคมี และไฮโดรคาร์บอน
2. เพื่อให้มีทักษะในการทำปฏิบัติการทางด้านเคมี
3. เพื่อให้สามารถนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในรายวิชาชีพเฉพาะ รายวิชาชีพบังคับ และรายวิชา ชีพเลือกได้
2. เพื่อให้มีทักษะในการทำปฏิบัติการทางด้านเคมี
3. เพื่อให้สามารถนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในรายวิชาชีพเฉพาะ รายวิชาชีพบังคับ และรายวิชา ชีพเลือกได้
เพื่อให้ตอบสนองต่อผลการเรียนรู้ของหลักสูตรและปรับปรุงเนื้อหาให้มีความทันสมัย มีการใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ และเพื่อส่งเสริมการจัดการเรียนการสอนโดยเน้นการเรียนรู้ด้วยตนเองอย่างเป็นรูปธรรม เพื่อให้นักศึกษาเรียนรู้ด้วยตนเองควบคู่ไปกับการเรียนในชั้นเรียนและนอกชั้นเรียน ตลอดจนให้นักศึกษาค้นคว้าความรู้จากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
ศึกษาและปฏิบัติการเกี่ยวกับพื้นฐานทางทฤษฎีอะตอม โครงสร้างทางอิเล็กตรอนของอะตอม สมบัติตามตารางธาตุพีริออดิก ธาตุเรฟพรีเซนเททีฟ อโลหะและธาตุแทรนซิซัน พันธะเคมี ปริมาณสารสัมพันธ์ สมบัติของก๊าซ ของแข็ง ของเหลว และสารละลายกรด-เบส สมดุลเคมี ปฏิกิริยาออกซิเดชันและรีดักชัน จลนศาสตร์เคมี ไฟฟ้าเคมี และไฮโดรคาร์บอน
อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 2 ชั่วโมง/สัปดาห์
1.1.1.1 เข้าใจและซาบซึ้งในวัฒนธรรมไทย ตระหนักในคุณค่าของระบบคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต
1.1.1.2 มีวินัย ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม
1.1.1.3 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นหมู่คณะ สามารถแก้ไขข้อขัดแย้งตามลำดับความสำคัญ เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1.1.1.4 สามารถวิเคราะห์และประเมินผลกระทบจากการใช้ความรู้ทางวิศวกรรมต่อบุคคล องค์กร สังคม และสิ่งแวดล้อม
1.1.1.5 มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ และมีความรับผิดชอบในฐานะผู้ประกอบวิชาชีพ รวมถึงเข้าใจถึงบริบททางสังคมของวิชาชีพวิศวกรรมในแต่ละสาขาตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน
1.1.1.2 มีวินัย ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม
1.1.1.3 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นหมู่คณะ สามารถแก้ไขข้อขัดแย้งตามลำดับความสำคัญ เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1.1.1.4 สามารถวิเคราะห์และประเมินผลกระทบจากการใช้ความรู้ทางวิศวกรรมต่อบุคคล องค์กร สังคม และสิ่งแวดล้อม
1.1.1.5 มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ และมีความรับผิดชอบในฐานะผู้ประกอบวิชาชีพ รวมถึงเข้าใจถึงบริบททางสังคมของวิชาชีพวิศวกรรมในแต่ละสาขาตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน
1.1.2.1 เน้นให้นักศึกษาเข้าชั้นเรียนให้ตรงเวลาและแต่งกายให้ตรงตามระเบียบของมหาวิทยาลัย
1.1.2.2 เน้นให้นักศึกษามีความรับผิดชอบ โดยเน้นให้มีการทำงานเป็นกลุ่ม ฝึกให้รู้หน้าที่ของการเป็นผู้นำกลุ่มและการเป็นสมาชิกกลุ่ม
1.1.2.3 เน้นให้ทำงาน ทำแบบฝึกหัด และทำข้อสอบด้วยความสุจริต
1.1.2.2 เน้นให้นักศึกษามีความรับผิดชอบ โดยเน้นให้มีการทำงานเป็นกลุ่ม ฝึกให้รู้หน้าที่ของการเป็นผู้นำกลุ่มและการเป็นสมาชิกกลุ่ม
1.1.2.3 เน้นให้ทำงาน ทำแบบฝึกหัด และทำข้อสอบด้วยความสุจริต
1.1.3.1 ประเมินจากการตรงเวลาของนักศึกษาในภาพเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที่มอบหมายและการร่วมกิจกรรม
1.1.3.2 ประเมินจากความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
1.1.3.3 ประเมินการกระทำทุจริตในการสอบและความซื่อสัตย์สุจริตในการทำงานที่ได้รับมอบหมาย
1.1.3.2 ประเมินจากความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
1.1.3.3 ประเมินการกระทำทุจริตในการสอบและความซื่อสัตย์สุจริตในการทำงานที่ได้รับมอบหมาย
1.2.1.1 มีความรู้และความเข้าใจทางคณิตศาสตร์พื้นฐาน วิทยาศาสตร์พื้นฐาน วิศวกรรมพื้นฐาน และเศรษศาสตร์ เพื่อการประยุกต์ใช้กับงานทางด้านวิศวกรรมที่เกี่ยวข้อง และการสร้างนวัตกรรมทางเทคโนโลยี
1.2.1.2 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการที่สำคัญ ทั้งในเชิงทฤษฎีและปฏิบัติ ในเนื้อหาของสาขาวิชาเฉพาะทางวิศวกรรม และวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอาหาร
1.2.1.3 สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
1.2.1.4 สามารถวิเคราะห์และแก้ไขปัญหา ด้วยวิธีการที่เหมาะสม รวมถึงการประยุกต์ใช้เครื่องมือที่เหมาะสม เช่น โปรแกรมคอมพิวเตอร์ เป็นต้น
1.2.1.5 สามารถใช้ความรู้และทักษะในสาขาวิชาของตน ในการประยุกต์แก้ไขปัญหาในงาน
1.2.1.2 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการที่สำคัญ ทั้งในเชิงทฤษฎีและปฏิบัติ ในเนื้อหาของสาขาวิชาเฉพาะทางวิศวกรรม และวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอาหาร
1.2.1.3 สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
1.2.1.4 สามารถวิเคราะห์และแก้ไขปัญหา ด้วยวิธีการที่เหมาะสม รวมถึงการประยุกต์ใช้เครื่องมือที่เหมาะสม เช่น โปรแกรมคอมพิวเตอร์ เป็นต้น
1.2.1.5 สามารถใช้ความรู้และทักษะในสาขาวิชาของตน ในการประยุกต์แก้ไขปัญหาในงาน
1.2.2.1 ให้ความรู้โดยการสอดแทรกเนื้อหาของบทเรียนต่าง ๆ
1.2.2.2 ใช้การสอนแบบเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง พร้อมทั้งให้ผู้เรียนตั้งคำถามหรือตอบคำถามโต้ตอบกับอาจารย์ผู้สอนหรือเพื่อนร่วมชั้นเรียน
1.2.2.3 ฝึกให้นักศึกษาได้ลงมือปฏิบัติที่สอดคล้องกับเนื้อหาทางทฤษฎี เพื่อให้นักศึกษาได้เข้าใจถึงการนําทฤษฎีไปประยุกต์ใช้
1.2.2.4 อภิปรายกลุ่มและนำเสนอผลงาน
1.2.2.2 ใช้การสอนแบบเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง พร้อมทั้งให้ผู้เรียนตั้งคำถามหรือตอบคำถามโต้ตอบกับอาจารย์ผู้สอนหรือเพื่อนร่วมชั้นเรียน
1.2.2.3 ฝึกให้นักศึกษาได้ลงมือปฏิบัติที่สอดคล้องกับเนื้อหาทางทฤษฎี เพื่อให้นักศึกษาได้เข้าใจถึงการนําทฤษฎีไปประยุกต์ใช้
1.2.2.4 อภิปรายกลุ่มและนำเสนอผลงาน
ประเมินจากผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและการปฏิบัติของนักศึกษา ในด้านต่าง ๆ โดย
1.2.3.1 การทดสอบย่อย การสอบกลางภาคเรียน และปลายภาคเรียน ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี
1.2.3.2 ประเมินจากรายงานที่นักศึกษาจัดทำ
1.2.3.1 การทดสอบย่อย การสอบกลางภาคเรียน และปลายภาคเรียน ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี
1.2.3.2 ประเมินจากรายงานที่นักศึกษาจัดทำ
1.3.1.1 มีความคิดอย่างมีวิจารณญาณที่ดี
1.3.1.2 สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และสรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ
1.3.1.3 สามารถคิด วิเคราะห์ และแก้ไขปัญหาด้านวิศวกรรมได้อย่างมีระบบ รวมถึงการใช้ข้อมูลประกอบการตัดสินใจในการทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1.3.1.4 มีจินตนาการและความยืดหยุ่นในการปรับใช้องค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องอย่างเหมาะสม ในการพัฒนานวัตกรรมหรือต่อยอดองค์ความรู้จากเดิมได้อย่างสร้างสรรค์
1.3.1.5 สามารถสืบค้นข้อมูลและแสวงหาความรู้เพิ่มเติมได้ด้วยตนเอง เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิตและทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางองค์ความรู้และเทคโนโลยีใหม่ ๆ
1.3.1.2 สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และสรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ
1.3.1.3 สามารถคิด วิเคราะห์ และแก้ไขปัญหาด้านวิศวกรรมได้อย่างมีระบบ รวมถึงการใช้ข้อมูลประกอบการตัดสินใจในการทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1.3.1.4 มีจินตนาการและความยืดหยุ่นในการปรับใช้องค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องอย่างเหมาะสม ในการพัฒนานวัตกรรมหรือต่อยอดองค์ความรู้จากเดิมได้อย่างสร้างสรรค์
1.3.1.5 สามารถสืบค้นข้อมูลและแสวงหาความรู้เพิ่มเติมได้ด้วยตนเอง เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิตและทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางองค์ความรู้และเทคโนโลยีใหม่ ๆ
1.3.2.1 การสอนโดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem Based Learning)
1.3.2.2 จัดกระบวนการเรียนรู้ เพื่อให้นักศึกษาได้ฝึกทักษะการวิเคราะห์ ทักษะการคิด มีการทบทวนบทเรียน และการทำแบบฝึกหัด
1.3.2.2 จัดกระบวนการเรียนรู้ เพื่อให้นักศึกษาได้ฝึกทักษะการวิเคราะห์ ทักษะการคิด มีการทบทวนบทเรียน และการทำแบบฝึกหัด
1.3.3.1 ประเมินจากการตอบปัญหาและแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียนทั้งรายบุคคลและรายกลุ่ม
1.3.3.2 การสอบย่อย การสอบข้อเขียนที่มีการแสดงถึงทักษะกระบวนการทางความคิดและการประยุกต์ใช้ความรู้พื้นฐานนั้น
1.3.3.3 ประเมินจากการปฏิบัติและการแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าที่เกิดขึ้น
1.3.3.2 การสอบย่อย การสอบข้อเขียนที่มีการแสดงถึงทักษะกระบวนการทางความคิดและการประยุกต์ใช้ความรู้พื้นฐานนั้น
1.3.3.3 ประเมินจากการปฏิบัติและการแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าที่เกิดขึ้น
1.4.1.1 สามารถสื่อสารกับกลุ่มคนที่หลากหลาย และสามารถสนทนาทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถใช้ความรู้ในสาขาวิชาชีพมาสื่อสารต่อสังคมได้ในประเด็นที่เหมาะสม
1.4.1.2 สามารถเป็นผู้ริเริ่มแสดงประเด็นในการแก้ไขสถานการณาเชิงสร้างสรรค์ทั้งส่วนตัวและส่วนรวม พร้อมทั้งแสดงจุดยืนอย่างพอเหมาะทั้งของตนเองและของกลุ่ม รวมทั้งให้ความช่วยเหลือและอํานวยความสะดวกในการแก้ไขปัญหาสถานการณ์ต่าง ๆ
1.4.1.3 สามารถวางแผนและรับผิดชอบในการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเอง และสอดคล้องกับทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
1.4.1.4 รู้จักบทบาท หน้าที่ และมีความรับผิดชอบในการทํางานตามที่มอบหมาย ทั้งงานบุคคลและงานกลุ่ม สามารถปรับตัวและทํางานร่วมกับผู้อื่นทั้งในฐานะผู้นําและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถวางตัวได้อย่างเหมาะสมกับความรับผิดชอบ
1.4.1.5 มีจิตสํานึกความรับผิดชอบด้านความปลอดภัยในการทํางาน และการรักษาสภาพแวดล้อมต่อสังคม
1.4.1.2 สามารถเป็นผู้ริเริ่มแสดงประเด็นในการแก้ไขสถานการณาเชิงสร้างสรรค์ทั้งส่วนตัวและส่วนรวม พร้อมทั้งแสดงจุดยืนอย่างพอเหมาะทั้งของตนเองและของกลุ่ม รวมทั้งให้ความช่วยเหลือและอํานวยความสะดวกในการแก้ไขปัญหาสถานการณ์ต่าง ๆ
1.4.1.3 สามารถวางแผนและรับผิดชอบในการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเอง และสอดคล้องกับทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
1.4.1.4 รู้จักบทบาท หน้าที่ และมีความรับผิดชอบในการทํางานตามที่มอบหมาย ทั้งงานบุคคลและงานกลุ่ม สามารถปรับตัวและทํางานร่วมกับผู้อื่นทั้งในฐานะผู้นําและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถวางตัวได้อย่างเหมาะสมกับความรับผิดชอบ
1.4.1.5 มีจิตสํานึกความรับผิดชอบด้านความปลอดภัยในการทํางาน และการรักษาสภาพแวดล้อมต่อสังคม
1.4.2.1 จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในชั้นเรียนและนอกชั้นเรียนที่เน้นการทำงานเป็นกลุ่ม
1.4.2.2 มอบหมายงานกลุ่มและมีการเปลี่ยนกลุ่มในการปฏิบัติการ เพื่อให้ทำงานกับบุคคลที่หลากหลายมากขึ้น
1.4.2.3 การลงมือทําปฏิบัติการรายกลุ่ม โดยกําหนดความรับผิดชอบของนักศึกษาแต่ละคนในการทํางานกลุ่มให้ชัดเจนและเข้าถึง
1.4.2.2 มอบหมายงานกลุ่มและมีการเปลี่ยนกลุ่มในการปฏิบัติการ เพื่อให้ทำงานกับบุคคลที่หลากหลายมากขึ้น
1.4.2.3 การลงมือทําปฏิบัติการรายกลุ่ม โดยกําหนดความรับผิดชอบของนักศึกษาแต่ละคนในการทํางานกลุ่มให้ชัดเจนและเข้าถึง
1.4.3.1 ประเมินจากพฤติกรรมที่แสดงถึงความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล และความรับผิดชอบในการทํากิจกรรมกลุ่ม รวมถึงประเมินจากการลงมือปฏิบัติการในงานที่ได้รับมอบหมาย
1.4.3.2 ให้นักศึกษาประเมินความสัมพันธ์สมาชิกในกลุ่ม ทั้งด้านทักษะระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
1.4.3.2 ให้นักศึกษาประเมินความสัมพันธ์สมาชิกในกลุ่ม ทั้งด้านทักษะระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
1.5.1.1 มีทักษะในการใช้คอมพิวเตอร์สำหรับการทำงานที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพได้เป็นอย่างดี
1.5.1.2 มีทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศทางคณิตศาสตร์หรือการแสดงสถิติประยุกต์ต่อการแก้ปัญหาที่เกี่ยวข้องได้อย่างสร้างสรรค์
1.5.1.3 สามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่ทันสมัยได้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ
1.5.1.4 มีทักษะในการสื่อสารข้อมูลทั้งการพูดการเขียนและการสื่อความหมายโดยใช้สัญลักษณ์
1.5.1.5 สามารถใช้เครื่องมือการคำนวนและเครื่องมือทางวิศวกรรมเพื่อประกอบวิชาชีพในสาขาวิศวกรรมที่เกี่ยวข้องได้
1.5.1.2 มีทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศทางคณิตศาสตร์หรือการแสดงสถิติประยุกต์ต่อการแก้ปัญหาที่เกี่ยวข้องได้อย่างสร้างสรรค์
1.5.1.3 สามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่ทันสมัยได้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ
1.5.1.4 มีทักษะในการสื่อสารข้อมูลทั้งการพูดการเขียนและการสื่อความหมายโดยใช้สัญลักษณ์
1.5.1.5 สามารถใช้เครื่องมือการคำนวนและเครื่องมือทางวิศวกรรมเพื่อประกอบวิชาชีพในสาขาวิศวกรรมที่เกี่ยวข้องได้
1.5.2.1 มีการนําเทคนิคการสืบค้น เพื่อทํารายงานและหาแหล่งข้อมูลในทางที่แม่นยําและถูกต้อง
1.5.2.2 นําเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
1.5.2.3 มีการนําเทคโนโลยีสารสนเทศมาประยุกต์ใช้ในการติดต่อสื่อสาร ต่อการแก้ปัญหาที่เกี่ยวข้องได้อย่างสร้างสรรค์
1.5.2.2 นําเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
1.5.2.3 มีการนําเทคโนโลยีสารสนเทศมาประยุกต์ใช้ในการติดต่อสื่อสาร ต่อการแก้ปัญหาที่เกี่ยวข้องได้อย่างสร้างสรรค์
1.5.3.1 ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนําเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี
1.5.3.2 ประเมินจากสมุดปฏิบัติการที่มีการสรุปการออกแบบการทดลองและการวางแผนการปฏิบัติงาน
1.5.3.2 ประเมินจากสมุดปฏิบัติการที่มีการสรุปการออกแบบการทดลองและการวางแผนการปฏิบัติงาน
-
-
-
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา | 1. ทักษะด้านคุณธรรมจริยธรรม | 2. ทักษะความรู้ | 3. ทักษะทางปัญญา | 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ | 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ | ||||||||||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ลำดับ | รหัสวิชา | ชื่อวิชา | 1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 1 | 2 | 3 | 4 | 5 |
1 | FUNSC210 | เคมีเบื้องต้นสำหรับอุตสาหกรรมอาหาร |
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล |
---|---|---|---|---|
1 | ด้านคุณธรรม จริยธรรม | - เข้าห้องเรียน - ใบงาน | 1-17 | 10 |
2 | ด้านความรู้ | - ทดสอบย่อย (5, 8, 12 และ 15) - สอบกลางภาค - สอบปลายภาค | 1-17 | 45 |
3 | ด้านทักษะทางปัญญา | - สอบปลายภาคปฏิบัติการ | 17 | 15 |
4 | ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ | - สมุดปฏิบัติการ - รายงานผลการปฏิบัติการ - การสังเกตพฤติกรรม | 1-17 | 15 |
5 | ด้านทักษะวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ | - สมุดปฏิบัติการ - รายงานผลการปฏิบัติการ - การสังเกตพฤติกรรม | 1-17 | 15 |
คู่มือปฏิบัติการเคมีเบื้องต้นสำหรับอุตสาหกรรมอาหาร (FUNSC210)
ไม่มี
ไม่มี
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
1.3 ข้อเสนอแนะของนักศึกษา
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
1.3 ข้อเสนอแนะของนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
2.1 การสังเกตพฤติกรรมจากการทำปฏิบัติการของนักศึกษา
2.2 การสรุปผลการปฏิบัติการ
2.3 ผลการสอบกลางภาคและปลายภาค
2.1 การสังเกตพฤติกรรมจากการทำปฏิบัติการของนักศึกษา
2.2 การสรุปผลการปฏิบัติการ
2.3 ผลการสอบกลางภาคและปลายภาค
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน ดังนี้
3.1 ปรับปรุงเนื้อหาให้เหมาะสมกับระดับของนักศึกษาโดยดูจากแบบทดสอบก่อนการเรียน เพื่อปูพื้นฐานและทบทวนในบางหัวข้อ
3.2 การวิจัยในชั้นเรียน
3.1 ปรับปรุงเนื้อหาให้เหมาะสมกับระดับของนักศึกษาโดยดูจากแบบทดสอบก่อนการเรียน เพื่อปูพื้นฐานและทบทวนในบางหัวข้อ
3.2 การวิจัยในชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการตรวจสอบรายงานผลปฏิบัติการ เพื่อปรับปรุงแก้ไข อธิบายทำความเข้าใจเป็นรายบุคคลหรือรายกลุ่ม และพิจารณาคะแนนสอบย่อย สอบกลางภาคและสอบปลายภาค
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 ปรับปรุงรูปแบบของกิจกรรมให้มีความหลากหลาย
5.3 ปรับปรุงหรือเพิ่มเติมอุปกรณ์เครื่องมือที่ใช้ในห้องปฏิบัติการ
5.4 นำข้อคิดเห็นจากการประเมินโดยผู้เรียนมาประมวล เพื่อจัดเนื้อหาความรู้ให้เหมาะสม ผลจากการประเมินจะนำไปปรับปรุงการจัดการเรียนการสอนในรุ่นต่อไป
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 ปรับปรุงรูปแบบของกิจกรรมให้มีความหลากหลาย
5.3 ปรับปรุงหรือเพิ่มเติมอุปกรณ์เครื่องมือที่ใช้ในห้องปฏิบัติการ
5.4 นำข้อคิดเห็นจากการประเมินโดยผู้เรียนมาประมวล เพื่อจัดเนื้อหาความรู้ให้เหมาะสม ผลจากการประเมินจะนำไปปรับปรุงการจัดการเรียนการสอนในรุ่นต่อไป