วิศวกรรมความร้อนและของไหลในงานระบบขนส่งทางราง

Thermo-Fluid Engineering in Railway System

เพื่อศึกษาคุณสมบัติของสารบริสุทธ์ ความร้อนและงาน กฏข้อที่ศูนย์ กฏข้อที่ 1 และ 2 ของเทอร์โมไดนามิกส์ เอนโทรปี วัฏจักรของกำลังและความเย็น ปั๊มและเครื่องอัด เครื่องกังหันความร้อน เครื่องยนต์สันดาปภายในที่ใช้ในระบบขนส่งทางราง การถ่ายเทความร้อนเบื้องต้น หลักการทำงานของเครื่องจักรกลของไหลที่ใช้ในงานขนส่งทางราง การออกแบบเครื่องจักรกลของไหล วิธีการคำนวณหาภาระะของระบบ เลือกประเภท และชนิดอุปกรณ์เครื่องจักรกลของไหลมาใช้งาน  และการทดสอบสมรรถนะ
เพื่อเพิ่มเนื้อหาจากงานวิจัย งานบริการวิชาการ การอบรม และทันสมัย
คุณสมบัติของสารบริสุทธ์ ความร้อนและงาน กฏข้อที่ศูนย์ กฏข้อที่ 1 และ 2 ของ เทอร์โมไดนามิกส์ เอนโทรปี วัฏจักรของกำลังและความเย็น ปั๊มและเครื่องอัด เครื่องกังหันความร้อน เครื่องยนต์สันดาปภายในที่ใช้ในระบบขนส่งทางราง การถ่ายเทความร้อนเบื้องต้น หลักการทำงานของเครื่องจักรกลของไหลที่ใช้ในงานขนส่งทางราง การออกแบบเครื่องจักรกลของไหล วิธีการคำนวณหาภาระของระบบ เลือกประเภท และชนิดอุปกรณ์เครื่องจักรกลของไหลมาใช้งาน  และการทดสอบสมรรถนะ
อย่างน้อย 1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
1.1.1 มีวินัย ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม 1.1.2 เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับ ต่างๆ ขององค์กรและสังคม 1.1.3 มีภาวะความเป็นผู้นาและผู้ตาม สามารถทางานเป็นหมู่คณะ สามารถแก้ไขข้อขัดแย้งตามลาดับความสำคัญ เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ 1.1.4 มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ และมีความรับผิดชอบในฐานะผู้ประกอบวิชาชีพ รวมถึงเข้าใจถึงบริบททางสังคมของวิชาชีพวิศวกรรมในแต่ละสาขา ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน 1.1.5 สามารถวิเคราะห์ และประเมินผลกระทบจากการใช้ความรู้ทางวิศวกรรมต่อบุคคล องค์กร สังคมและสิ่งแวดล้อม
1.2.1 อธิบายความสำคัญและผลกระทบเนื่องจาก การมีวินัย ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม พร้อมกับตกลงเงื่อนที่ต้องกระทำร่วมกัน 1.2.2 แนะนำให้แต่งกายที่เป็นไปตามระเบียบข้อบังคับของมหาวิทยาลัย และอธิบายความสำคัญ 1.2.3 มอบหมายการทำงานกลุ่มนั้น ฝึกให้รู้หน้าที่ของตน มีสภาวะการเป็นผู้นำและผู้ตามตามงานต่างๆที่มอบหมาย สามารถแก้ไขข้อขัดแย้งตามลาดับความสำคัญ เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น และเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ 1.2.4 คอยควบคุมดูแล ไม่กระทำการทุจริตในการสอบ การบ้าน การทำงานที่มอบหมายต่างๆ รู้จักการให้เครดิตผลงานของผู้ร่วมงาน พร้อมทั้งตั้งเงื่อนไขลงโทษร่วมกันเมื่อทำการทุจริต 1.2.5 ให้อธิบายผลกระทบของการรับผิดชอบงานตอนเองต่อภาพรวมของงานกลุ่ม
1.3.1 ให้คะแนนจากการ เช็คชื่อเข้าชั้นเรียน ความตรงต่อเวลาเข้าชั้นเรียนและส่งงานที่มอบหมาย ความรับผิดชอบงานเฉพาะบุคลเมื่อทำงานกลุ่ม 1.3.2 ให้คะแนนจากการแต่งกายที่เป็นไปตามระเบียบข้อบังคับของมหาวิทยาลัย 1.3.3 ให้คะแนนการทำงานกลุ่ม โดยประเมินจากคะแนนการทำหน้าที่ การรับผิดชอบเฉพาะคน การมีสภาวะการเป็นผู้นำและผู้ตาม การแก้ไขข้อขัดแย้งตามลำดับความสำคัญ การเคารพความคิดเห็นของผู้อื่น และการเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ 1.3.4 ตัดคะแนนตามความรุนแรงของ การกระทำการทุจริต ด้านการสอบ การลอกการบ้าน การละเมิดผลงานของผู้ร่วมงาน 1.3.5 ให้คะแนนจากผลสำเร็จของงานกลุ่ม ที่เกิดจากงานเฉพาะบุคคลที่ส่งผลต่อผลของงานกลุ่ม
1. คุณสมบัติของสารบริสุทธ์
2.ความร้อนและงาน
3. กฏข้อที่ศูนย์ กฏข้อที่ 1 และ 2 ของเทอร์โมไดนามิกส์ เอนโทรปี
4. วัฏจักรของกำลัง
5. วัฏจักรความเย็น ปั๊มและเครื่องอัด
6. เครื่องกังหันความร้อน
7. เครื่องยนต์สันดาปภายในที่ใช้ในระบบขนส่งทางราง
8. การถ่ายเทความร้อนเบื้องต้น
9. หลักการทำงานของเครื่องจักรกลของไหลที่ใช้ในงานขนส่งทางราง 
10. การออกแบบเครื่องจักรกลของไหล วิธีการคำนวณหาภาระะของระบบ
11. การเลือกประเภท และชนิดอุปกรณ์เครื่องจักรกลของไหลมาใช้งาน  และการทดสอบสมรรถนะ
การอธิบายผ่านสไลด์ Power Point การเขียนบนกระดาน การยกตัวอย่าง การให้ทำแบบฝึกหัด  การถามตอบตลอดช่วงเวลาที่สอนเพื่อตรวจสอบความเข้าใจ การมอบหมายการบ้านทั้งงานกลุ่มและงานเดี่ยว เพื่อตรวจอสบความเข้าในในเนื้อหาที่สอน
2.3.1. การให้คะแนนจากการส่งงานที่มอบหมายทั้งงานกลุ่มและงานเดี่ยว 2.3.2. การสอบย่อย 2.3.3. การสอบกลางภาคเรียน 2.3.4. การสอบปลายภาคเรียน
สามารถแก้โจทย์ปัญหาที่ประยุกต์จากเนื้อหาพื้นฐานเรื่องต่อไปนี้ ความร้อนและงาน การหาค่าพลังงานโดยใช้กฏของเทอร์โมไดนามิกส์ เอนโทรปี ในวัฏจักรของกำลัง วัฏจักรความเย็น ปั๊มและเครื่องอัด เครื่องกังหันความร้อน การถ่ายเทความร้อนเบื้องต้น เครื่องจักรกลของไหลที่ใช้ในงานขนส่งทางราง การออกแบบเครื่องจักรกลของไหล การคำนวณหาภาระะของระบบ การเลือกประเภท และชนิดอุปกรณ์เครื่องจักรกลของไหลมาใช้งาน  และการทดสอบสมรรถนะ
มอบหมายโจทย์ประยุกต์ มอบหมายให้ค้นคว้านอกห้องเรียน ทั้งงานกลุ่มและงานเดี่ยว 
ประเมินคะแนนความถูกต้อง ความคิดสร้างสรรค์ ในโจทย์งานที่มอบหมายดังเนื้อหาข้อ 3.2 จาก 3.3.1. งานกลุ่มและงานเดี่ยว 3.3.2. การสอบย่อย 3.3.3. การสอบกลางภาคเรียน และ 3.3.4. การสอบปลายภาคเรียน
4.1.1 รู้จักบทบาทหน้าที่ และมีความรับผิดชอบงานที่มอบหมาย สามารถปรับตัวและทางานร่วมกับผู้อื่นในฐานะผู้นาและผู้ตาม  4.1.2 สามารถวางแผนและรับผิดชอบในการพัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเองและสอดคล้องกับวิชาชีพ  4.1.3 สามารถริเริ่มแสดงการแก้ไขสถานการณ์เชิงสร้างสรรค์ทั้งส่วนตัวและส่วนรวม พร้อมทั้ง แสดงจุดยืนพอเหมาะทั้งของตนเองและของกลุ่มสามารถวางแผนและรับผิดชอบในการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเองและผู้อื่น
4.2.1 มอบหมายงานและค้นคว้ารายกลุ่มและรายบุคคล 4.2.2 ให้มีการอภิปรายแสดงความคิดเห็นในการวิเคราะห์กรณีศึกษา 4.2.3 มอบหมายโจทย์ปัญหาของบทเรียน
4.3.1 ประเมินจากรายงานที่นามาเสนอทั้งรายบุคคลและกลุ่ม 4.3.2 ประเมินจากการอภิปรายแสดงความคิดเห็น 4.3.3 ประเมินจากความสัมพันธ์ระหว่างกลุ่มเพื่อน
5.1.1 มีทักษะในการสื่อสารข้อมูลทั้งทางการพูด การเขียนและการสื่อความหมาย  5.1.2 สามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารที่ทันสมัยได้อย่างเหมาะสม 5.1.3 คำนวณด้านความร้อนและงาน การหาค่าพลังงานโดยใช้กฏของเทอร์โมไดนามิกส์ เอนโทรปี ในวัฏจักรของกำลัง วัฏจักรความเย็น ปั๊มและเครื่องอัด เครื่องกังหันความร้อน การถ่ายเทความร้อนเบื้องต้น เครื่องจักรกลของไหลที่ใช้ในงานขนส่งทางราง การออกแบบเครื่องจักรกลของไหล ภาระะของระบบ และคำนวนสมรรถนะของเครื่องจักรกลของไหล
5.2.1 มอบหมายงานให้ค้นคว้ากรณีศึกษานอกชั้นเรียน เช่น จากช่องทางออนไลน์ต่างๆ 5.2.2 ให้นำเสนอผลงาน ด้วยสื่อ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม 5.2.3 แสดงตัวอย่างการคำนวณอย่างเป็นขั้นตอน และถูกต้อง  
5.3.1 ประเมินจากความเกี่ยวข้อง และความถูกต้องของเนื้อหาที่ นักศึกษาได้ทำการสืบค้นด้วยตนเอง 5.3.2 ประเมินจากการนำเสนอด้วยสื่อสารสนเทศที่เหมาะสม ที่ทำให้ผู้รับสื่อเข้าใจง่าย  5.2.3 การแสดงผลการคำนวณที่มีขั้นตอนและถูกต้อง   
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.1.1,2.1.2, 3.1.1,3.1.2 ทดสอบย่อยครั้งที่ 1 สอบกลางภาค ทดสอบย่อยครั้งที่ 2 สอบปลายภาค 4 8 12 16 15% 20% 15% 30%
2 3.1.1,4.1.2, 4.1.3,5.1.1, 5.1.2 การศึกษาค้นคว้า การทางานกลุ่มและผลงาน การนาเสนอ การส่งงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 10%
3 1.1.1, 1.1.2, 1.1.3 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
hermodynamics: An Engineering Approach 6th edition by Yunus A. Cengel, Michael A. Boles 
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทาโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนาแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้  1.1 การแลกเปลี่ยนความคิดเห็นในห้องเรียน  1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา  1.3 ข้อเสนอแนะผ่านเว็บไซท์ราชาวิชา ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทาเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
นการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้  2.1 ผลการเรียนของนักศึกษา  2.2 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีสรุปและวางแผนการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้  3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน  3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้  4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจาหลักสูตร  4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้  5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4  5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ