วิศวกรรมความร้อนและของไหล

Thermal-Fluid Engineering

ศึกษาคุณสมบัติของสารในทางอุณหภูมิศาสตร์ และกลศาสตร์ของไหลสถิตศาสตร์ของของไหล กฏทางอุณหพลศาสตร์ กฏการทรงพลังงาน สมการพลังงานของการไหล ขบวนการวัฏจักรต่างๆ ทางอุณหพลศาสตร์
สมการเบอร์นูลี่ และสมการการสูญเสียของของไหลในท่อ และการวัดอัตราการไหลของไหลภายในท่อ และ หลักการพื้นฐานของการส่งถ่ายความร้อน
    ศึกษาคุณสมบัติของสารในทางอุณหภูมิศาสตร์ และกลศาสตร์ของไหลสถิตศาสตร์ของของไหล กฏทางอุณหพลศาสตร์ กฏการทรงพลังงาน สมการพลังงานของการไหล ขบวนการวัฏจักรต่างๆ ทางอุณหพลศาสตร์ สมการเบอร์นูลี่ และสมการการสูญเสียของของไหลในท่อ และการวัดอัตราการไหลของไหลภายในท่อ และ หลักการพื้นฐานของการส่งถ่ายความร้อน
จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ อย่างน้อย 2 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
1.1.1 มีวินัย ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม  1.1.2 เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับ ต่างๆ ขององค์กรและสังคม  1.1.3 มีภาวะความเป็นผู้นาและผู้ตาม สามารถทางานเป็นหมู่คณะ สามารถแก้ไขข้อขัดแย้งตามลาดับความสำคัญ เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์  1.1.4 มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ และมีความรับผิดชอบในฐานะผู้ประกอบวิชาชีพ รวมถึงเข้าใจถึงบริบททางสังคมของวิชาชีพวิศวกรรมในแต่ละสาขา ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน  1.1.5 สามารถวิเคราะห์ และประเมินผลกระทบจากการใช้ความรู้ทางวิศวกรรมต่อบุคคล องค์กร สังคมและสิ่งแวดล้อม
1.2.1 ปลูกฝังให้นักศึกษามีระเบียบวินัย ปฏิบัติตามกฎกติกาที่กาหนดหรือได้ตกลงกันไว้ มีการปลูกฝังความรับผิดชอบให้นักศึกษา ตั้งแต่การเข้าชั้นเรียนให้ตรงเวลา การส่งงานตามกำหนดเวลา ตลอดจนการแต่งกายที่เป็นไปตามระเบียบข้อบังคับของมหาวิทยาลัย การทำงานกลุ่มนั้นต้องฝึกให้รู้หน้าที่ของการเป็นผู้นำกลุ่มและการเป็นสมาชิกกลุ่ม มีความซื่อสัตย์ โดยต้องไม่กระทำการทุจริตในการสอบหรือลอกการบ้านของผู้อื่น เป็นต้น  1.2.2 บรรยายพร้อมยกประเด็นตัวอย่างเกี่ยวกับจริยธรรม ความรับผิดชอบในการประกอบวิชาชีพ การนำเอาวิชาชีพไปใช้อย่างซื่อสัตย์สุจริต ไม่ใช้วิชาชีพในการแสวงหาผลประโยชน์ให้แก่ตนเอง โดยไม่คำนึงถึงสังคมและผู้ประกอบการที่อาจจะได้รับความเสียหายได้  แก้ไข
1.3.1 ประเมินจาการตรงเวลาของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียน  1.3.2 ประเมินจากการส่งงานตามกำหนด ระยะเวลาที่มอบหมาย และการร่วมกิจกรรม การมีวินัยและพร้อมเพรียงของนักศึกษาในการเข้าร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตร ปริมาณการกระทาทุจริตในการสอบ ความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
2.1 ความรู้ที่ต้องได้รับ  2.1.1 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการที่สำคัญในเนื้อหาของวิชาเทอร์โมไดนามิกส์ สามารถใช้ความรู้และทักษะในวิชาเทอร์โมไดนามิกส์ในการประยุกต์แก้ไขปัญหาในงานจริงได้  2.1.2 สามารถนำความรู้ที่เรียนจากวิชาเทอร์โมไดนามิกส์ ไปใช้ในออกแบบระบบรวมถึงสามารถวิเคราะห์และแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นในงานจริงได้
2.2.1 เน้นหลักการทางทฤษฏีของเทอร์โมไดนามิกส์ และยกตัวอย่างประกอบเกี่ยวกับการประยุกต์ใช้งานจริงในเชิงวิศวกรรม  2.2.2 เน้นการแก้โจทย์ปัญหาที่เกี่ยวข้องกับงานทางวิศวกรรมด้านโดยใช้พื้นฐานของเทอร์โมไดนามิกส์ในการแก้ปัญหา
2.3.1 มีการทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค และประเมินจากงานที่ได้รับมอบหมาย รวมทั้งการนาเสนอผลการค้นคว้าข้อมูล กรณีศึกษา หรือโจทย์จาก Problem – based Learning
 
3.3.1    สอบกลางภาคและปลายภาค  โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์สถานการณ์
3.2.1 ใช้หลักการศึกษา ค้นคว้า วิจัย และรายงานทางเอกสารรวมถึงรายงานหน้าชั้นเรียน  โดยมอบหมายงานที่เกี่ยวข้องกับการออกแบบโดยใช้พื้นฐานด้านเทอร์โมไดนามิกส์ มาประยุกต์
3.3.1    สอบกลางภาคและปลายภาค  โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์สถานการณ์  แก้ไข
4.1 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ที่ต้องพัฒนา 
4.1 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ที่ต้องพัฒนา  4.1.1 รู้จักบทบาทหน้าที่ และมีความรับผิดชอบงานที่มอบหมาย สามารถปรับตัวและทางานร่วมกับผู้อื่นในฐานะผู้นาและผู้ตาม  4.1.2 สามารถวางแผนและรับผิดชอบในการพัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเองและสอดคล้องกับวิชาชีพ  4.1.3 สามารถริเริ่มแสดงการแก้ไขสถานการณ์เชิงสร้างสรรค์ทั้งส่วนตัวและส่วนรวม พร้อมทั้ง แสดงจุดยืนพอเหมาะทั้งของตนเองและของกลุ่มสามารถวางแผนและรับผิดชอบในการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเองและผู้อื่น
4.2.1 มอบหมายงานและค้นคว้ารายกลุ่มและรายบุคคล  4.2.2 ให้มีการอภิปรายแสดงความคิดเห็นในการวิเคราะห์กรณีศึกษา  4.2.3 มอบหมายโจทย์ปัญหาของบทเรียน  แก้ไข
4.3.1 ประเมินจากรายงานที่นามาเสนอทั้งรายบุคคลและกลุ่ม  4.3.2 ประเมินจากการอภิปรายแสดงความคิดเห็น  4.3.3 ประเมินจากความสัมพันธ์ระหว่างกลุ่มเพื่อน 
5.1 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา 
5.1 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา  5.1.1 มีทักษะในการสื่อสารข้อมูลทั้งทางการพูด การเขียนและการสื่อความหมาย  5.1.2 สามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารที่ทันสมัยได้อย่างเหมาะสม
5.2.1 มอบหมายงานให้ค้นคว้ากรณีศึกษาจากเว็บไซต์  5.2.2 นาเสนอกรณีศึกษาโดยใช้เทคโนโลยี
5.3.1 ประเมินจากการเสนอกรณีศึกษาจากการค้นคว้า  5.3.2 ประเมินจากรายงานข้อมูลที่ได้จากการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
6.1 ผลการเรียนรู้ด้านทักษะพิสัย
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.1.1,2.1.2, 3.1.1,3.1.2 ทดสอบย่อยครั้งที่ 1 สอบกลางภาค ทดสอบย่อยครั้งที่ 2 สอบปลายภาค 4 8 12 16 15% 20% 15% 30%
2 3.1.1,4.1.2, 4.1.3,5.1.1, 5.1.2 การศึกษาค้นคว้า การทางานกลุ่มและผลงาน การนาเสนอ การส่งงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 10%
3 1.1.1, 1.1.2, 1.1.3 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
Thermodynamics: An Engineering Approach 6th edition by Yunus A. Cengel, Michael A. Boles 
ไม่มี
ไม่มี
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทาโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนาแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้  1.1 การแลกเปลี่ยนความคิดเห็นในห้องเรียน  1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา  1.3 ข้อเสนอแนะผ่านเว็บไซท์ราชาวิชา ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทาเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้  2.1 ผลการเรียนของนักศึกษา  2.2 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีสรุปและวางแผนการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้  3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน  3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้  4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจาหลักสูตร  4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้  5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4  5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ