ความคิดสร้างสรรค์เพื่อการออกแบบ

Creative Thinking for Design

ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับความหมาย องค์ประกอบ ประเภท แรงบันดาลใจในการออกแบบ และความสำคัญของความคิดสร้างสรรค์ กระบวนการของความคิดสร้างสรรค์ เทคนิคในการใช้ความคิดสร้างสรรค์ การทำแผนผังความคิด และกระดานความคิดในการกำหนดกรอบคิดสร้างสรรค์ผลงาน การใช้ความคิดสร้างสรรค์ในงานออกแบบรูปทรง ลวดลาย การนำเสนอความคิดเป็นภาพ และการนำไปประยุกต์ใช้ในงานออกแบบ
 
1. ด้านคุณธรรมจริยธรรม
◯ ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
⬤ มีทัศนคติที่เปิดกว้าง ยอมรับฟังแนวคิดของผู้อื่น
 
2. ด้านความรู้
◯ รอบรู้ในศาสตร์ทางศิลปกรรม และศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้อง
⬤ มีความสามารถในการค้นคว้าแก้ปัญหา และพัฒนาทางด้านศิลปกรรมศาสตร์อย่างเป็นระบบ
 
3. ด้านทักษะทางปัญญา
◯ สามารถค้นคว้า รวบรวม และประเมินข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลายอย่างมีวิจารณญาณ
◯ สามารถวิเคราะห์สังเคราะห์และเสนอแนวทางแก้ปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์
⬤ มีความคิดสร้างสรรค์ และมีปฏิภาณไหวพริบในการสร้างสรรค์ผลงาน
 
4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
◯ มีความรับผิดชอบต่องานของตนเอง และสามารถทางานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมี ประสิทธิภาพ
⬤ สามารถแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล ตรงไปตรงมา และเคารพในความคิดเห็นที่แตกต่าง
 
5. ด้านทักษะวิเคราะห์เชิงตัวเลข และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
⬤ สามารถสื่อสารด้วยการพูด ฟัง อ่าน เขียนในการสื่อสารโดยทั่วไป ตลอดจนใช้วิธีการสื่อสารทางศิลปกรรม และนำเสนองานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
◯ สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูล เพื่อการสร้างสรรค์ผลงานหรือการนำเสนอผลงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
 
6. ด้านทักษะพิสัย
◯ สามารถใช้ทักษะปฏิบัติทางศิลปกรรมศาสตร์ ในการสร้างสรรค์ผลงานตน
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐานด้านความคิดสร้างสรรค์เพื่อการออกแบบ โดยเรียนรู้การวางระบบแนวความคิดจากการหาและวิเคราะห์ข้อมูล เพื่อสร้างกรอบแนวคิดสำหรับการสร้างสรรค์ผลงานการออกแบบสื่อ
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับความหมาย องค์ประกอบ ประเภท แรงบันดาลใจในการออกแบบ และความสำคัญของความคิดสร้างสรรค์ กระบวนการของความคิดสร้างสรรค์ เทคนิคในการใช้ความคิดสร้างสรรค์ การทำแผนผังความคิด และกระดานความคิดในการกำหนดกรอบคิดสร้างสรรค์ผลงาน การใช้ความคิดสร้างสรรค์ในงานออกแบบรูปทรง ลวดลาย การนำเสนอความคิดเป็นภาพ และการนำไปประยุกต์ใช้ในงานออกแบบ
อาจารย์ประจำรายวิชาให้คำปรึกษาและแนะนำทางวิชาการแก่นักศึกษาเป็นรายบุคคล (เฉพาะรายที่ต้องการและนัดหมายล่วงหน้า)
◯ ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
⬤ มีทัศนคติที่เปิดกว้าง ยอมรับฟังแนวคิดของผู้อื่น
✓ ฝึกปฏิบัติ  ✓ ฝึกการแสดงออกซึ่งพฤติกรรม
✓ ประเมินจากการสังเกตการปฏิบัติงานในสถานการณ์จำลอง (โดยผู้สอน/กลุ่ม)
◯ รอบรู้ในศาสตร์ทางศิลปกรรม และศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้อง
⬤ มีความสามารถในการค้นคว้าแก้ปัญหา และพัฒนาทางด้านศิลปกรรมศาสตร์อย่างเป็นระบบ
✓ สาธิต/ดูงาน ✓ ฝึกปฏิบัติ ✓ ฝึกการแสดงออกซึ่งพฤติกรรม
✓ ประเมินจากผลงานที่ปฏิบัติ
✓ ประเมินจากรายงานที่นักศึกษาจัดทำ
✓ ประเมินจากการนำเสนอรายงานในชั้นเรียน
◯ สามารถค้นคว้า รวบรวม และประเมินข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลายอย่างมีวิจารณญาณ
◯ สามารถวิเคราะห์สังเคราะห์และเสนอแนวทางแก้ปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์
⬤ มีความคิดสร้างสรรค์ และมีปฏิภาณไหวพริบในการสร้างสรรค์ผลงาน
✓ ฝึกการสืบค้นข้อมูล วิเคราะห์ สังเคราะห์ ✓ ฝึกปฏิบัติ การร่วมแสดงความคิดเห็น ✓ การนำเสนอข้อมูล
✓ ประเมินจากผลงานรายบุคคล (เอกสาร / รายงาน / แฟ้มสะสมผลงาน) ✓ ประเมินจากการนำเสนอ (วาจาและสื่อ / โปสเตอร์) ✓ ประเมินจากการสังเกตการปฏิบัติงานในสถานการณ์จำลอง (โดยผู้สอน/กลุ่ม) ✓ ประเมินจากการสังเกตการปฏิบัติงานในสถานการณ์จริง (โดยผู้สอน/กลุ่ม)
◯ มีความรับผิดชอบต่องานของตนเอง และสามารถทางานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมี ประสิทธิภาพ
⬤ สามารถแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล ตรงไปตรงมา และเคารพในความคิดเห็นที่แตกต่าง  
✓ มอบหมายงานกลุ่มย่อย (ค้นคว้าข้อมูล วิเคราะห์ สังเคราะห์ อภิปราย รายงาน) ✓ ฝึกปฏิบัติ ✓ ฝึกการแสดงออกซึ่งพฤติกรรมและความรับผิดชอบ
✓ ประเมินจากการเข้าเรียนและการมีส่วนร่วมในการเรียนการสอน ✓ ประเมินจากการส่งงานตามเวลาที่กำหนด ✓ ประเมินจากผลงานกลุ่ม (เอกสาร / รายงาน) ✓ ประเมินจากการสังเกตการปฏิบัติงานในสถานการณ์จำลอง (โดยผู้สอน/กลุ่ม) ✓ ประเมินจากการสังเกตการปฏิบัติงานในสถานการณ์จริง (โดยผู้สอน/กลุ่ม)
⬤ สามารถสื่อสารด้วยการพูด ฟัง อ่าน เขียนในการสื่อสารโดยทั่วไป ตลอดจนใช้วิธีการสื่อสารทางศิลปกรรม และนำเสนองานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
◯ สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูล เพื่อการสร้างสรรค์ผลงานหรือการนำเสนอผลงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
✓ ฝึกการการร่วมแสดงความคิดเห็น ✓ ฝึกปฏิบัติ ✓ การนำเสนอข้อมูล
✓ ประเมินจากผลงานรายบุคคล (เอกสาร / รายงาน / แฟ้มสะสมผลงาน) ✓ ประเมินจากการนำเสนอ (วาจาและสื่อ / โปสเตอร์) ✓ ประเมินจากการสังเกตการปฏิบัติงานในสถานการณ์จำลอง (โดยผู้สอน/กลุ่ม) ✓ ประเมินจากการสังเกตการปฏิบัติงานในสถานการณ์จริง (โดยผู้สอน/กลุ่ม)
◯ สามารถใช้ทักษะปฏิบัติทางศิลปกรรมศาสตร์ ในการสร้างสรรค์ผลงานตน
✓ มอบหมายงานบุคคล  ✓ นำเสนอข้อมูล ✓ ฝึกปฏิบัติ
✓ ประเมินจากการนำเสนอ (วาจาและสื่อ / โปสเตอร์) ✓ ประเมินจากการสอบปฏิบัติ ✓ ประเมินจากการสังเกตการปฏิบัติงานในสถานการณ์จำลอง (โดยผู้สอน/กลุ่ม) ✓ ประเมินจากการสังเกตการปฏิบัติงานในสถานการณ์จริง (โดยผู้สอน/กลุ่ม)
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรมจริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5.ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6.ด้านทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 1 2 3 1
1 BAACC405 ความคิดสร้างสรรค์เพื่อการออกแบบ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1, 1.2 การเข้าเรียนและการมีส่วนร่วมในการเรียนการสอน ทัศนคติที่เปิดกว้างและยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่น 1-16 5
2 2.1, 2.2 การทดสอบย่อย สอบกลางภาคและปลายภาค 9, 18 15
5 3.1, 3.2, 3.4, 4.2, 4.3, 6.1 ผลงานรายบุคคล (งานปฏิบัติในคาบเรียน) 1-18 60
4 5.1, 5.2 การนำเสนอรายบุคคล และกลุ่ม (การพูด ตอบคำถาม การทำงาน) และสื่อที่ใช้นำเสนอ 8, 16 20
Lupton, E. (2014). Graphic design thinking: Beyond brainstorming. Princeton Architectural Press.
การคิดเชิงสร้างสรรค์. เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์.
ความคิดสร้างสรรค์. ชาญณรงค์ พรรุ่งโรจน์.
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทาโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนาแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษา ได้ดังนี้ ๑.๑ การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน ๑.๒ แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา ๑.๓ ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทาเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้ ๒.๑ การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน ๒.๒ ผลการเรียนของนักศึกษา ๒.๓ การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้ ๓.๑ สัมมนาการจัดการเรียนการสอน ๓.๒ การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้ ๔.๑ การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจาหลักสูตร ๔.๒ มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้ ๕.๑ ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4 ๕.๒ เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ