ภาษาอังกฤษเพื่อทักษะการทำงาน

English for Working Skills

ศึกษาคำศัพท์ สำนวน โครงสร้างภาษาอังกฤษที่ใช้ในงานอาชีพ และพัฒนาทักษะการใช้ ภาษาอังกฤษด้านการฟัง พูด อ่าน เขียน เพื่อการสื่อสารและการทำงานในสาขาวิชาชีพ
อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
(1)  มีจิตนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม (2)  มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ (3)  มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม (4)  เคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย
- สร้างข้อตกลงในการเรียนร่วมกันในชั้นเรียน
- สอดแทรกและส่งเสริมด้านคุณธรรม จริยธรรม
- มอบหมายงานหรือกิจกรรมคู่/กลุ่ม เพื่อสอนการทำงานร่วมกัน
- ส่งเสริมให้นักศึกษามีจิตสาธารณะสนับสนุนให้นักศึกษาเข้าร่วมในการให้บริการวิชาการและวิชาชีพแก่สังคม
ประเมินจากการสังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาและการปฏิบัติตนในด้านต่าง ๆ ได้แก่ (1)  การตรงเวลาของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกำหนดระยะเวลา ที่มอบหมาย และการเข้าร่วมกิจกรรม (2)  ความมีวินัยและความใส่ใจของนักศึกษาในการเข้าร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตร (3)  ความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย (4)  ความซื่อสัตย์สุจริตในการทำงานที่ได้รับมอบหมายและการสอบ
 
 
 
 
(1)  มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฏีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา (2)  สามารถติดตามความก้าวหน้า ใฝ่รู้ ทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา (3)  สามารถบูรณาการความรู้ทางวิชาชีพกับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
ใช้รูปแบบการเรียนการสอนที่หลากหลายโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ   โดยมุ่งเน้นทั้งหลักการทางทฤษฎี และการประยุกต์ใช้ความรู้ในการปฎิบัติในสภาพแวดล้อมจริงและให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี จัดให้มีการเรียนรู้จากสถานการณ์จริงให้เป็นไปตามลักษณะของรายวิชา และเนื้อหาสาระของรายวิชา
ประเมินจากผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและการปฏิบัติของนักศึกษา โดยใช้การวัดผลที่หลากหลาย ดังนี้ (1)  การทดสอบย่อย (2)  การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน (3)  รายงานที่นักศึกษาจัดทำ (4)  งานที่ได้มอบหมาย (5)  การนำเสนอรายงานในชั้นเรียน (6)  แฟ้มสะสมผลงาน
(1)  มีทักษะในการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ (2)  มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
ใช้การเรียนการสอนที่ หลากหลายโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ 
มุ่งเน้นให้นักศึกษารู้จักวิเคราะห์องค์ประกอบของสถานการณ์ต่าง ๆ โดยใช้บทบาทสมมติสถานการณ์จำลอง และกรณีศึกษาเพื่อเป็นตัวอย่างให้นักศึกษาได้ฝึกวิเคราะห์แนวทางแก้ไขให้ถูกต้อง
ประเมินตามสภาพจริงจากผลงาน และการปฏิบัติของนักศึกษา เช่น (1)  บทบาทสมมติหรือสถานการณ์จำลอง (2)  การเลือกใช้วิธีการเพื่อแก้ใขปัญหาในบริบทต่างๆ (3)  การนำเสนอรายงานในชั้นเรียน (4)  การทดสอบโดยใช้แบบทดสอบหรือสัมภาษณ์
(1)  มีมนุษย์สัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี (2)  มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม (3)  สามารถทำงานเป็นทีมและแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม (4)  สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสั งคมในประเด็นที่เหมาะสม
ดำเนินการสอนโดยการกำหนดกิจกรรมกลุ่ม การทำงานที่ต้องประสานงานกับผู้อื่น หรือ ค้นคว้าหาข้อมูลจากการสัมภาษณ์ผู้ที่ มีประสบการณ์และประสบความสำเร็จในงานอาชีพ โดยมีความ คาดหวั งในผลการเรียนรู้ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล และความสามารถในการรับผิดชอบ ดังนี้ (1)  สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี (2)  มีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย (3)  สามารถปรับตัวเข้ากับสถานการณ์และวัฒนธรรมองค์กรได้เป็นอย่างดี (4)  มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี (5)  มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม (6)  มีความรู้เกี่ยวกับวัฒนธรรมของบุคคลที่ติดต่อสื่อสารด้วย และสามารถวางตนได้เหมาะสมกับกาลเทศะ ขนบธรรมเนียมและแนวทางปฏิบัติเฉพาะของแต่ละวัฒนธรรม
ประเมินตามสภาพจริงจากผลงานและการปฏิบัติของนักศึกษา เช่น (1)  พฤติกรรมและการแสดงออกของนักศึกษาในการนำเสนอรายงานกลุ่มในชั้นเรียน (2)  พฤติกรรมที่แสดงออกในการร่วมกิจกรรมต่าง ๆ
(1)  เลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารได้เหมาะสม (2)  สืบค้น ศึกษา วิเคราะห์และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม (3)  ใช้ภาษาไทยและภาษาต่ างประเทศ ในการสื่ อสารได้อย่ างถูกต้องตามกาลเทศะ และสอดคล้องกับวัฒนธรรมสากล
ดำเนินการสอนด้วยกิจกรรม  Active Learning/Flipped Classroom ที่ นักศึกษาต้องติดต่อสื่อสาร ค้นคว้าหาข้อมูล และนำเสนอผลจากการค้นคว้าโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อให้เกิดการ เรียนรู้ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ดังนี้ (1)  ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเครื่องมือในการติดต่อสื่อสาร (2)  ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเครื่องมือในการค้นคว้าหาข้อมูล (3)  ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเครื่องมือในการนำเสนอผลงาน (4)  ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างถูกต้อง เหมาะสมกับขนบธรรมเนียมปฏิบัติของสังคมแต่ละกลุ่ม
การวัดและประเมินผลตามสภาพจริงจากผลงาน และการปฏิบัติของนักศึกษา ดังนี้ (1)  ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการติดต่อสื่อสาร (2)  ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการศึกษาค้นคว้าหาข้อมูล (3)  ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนอผลงาน (4)  จรรยามารยาทในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างเหมาะสมกับสถานการณ์และ วัฒนธรรมสากล
-
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรมจริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ความสัมพันธ์ระหว่างบบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3. 1 2 1 2 3 4 1 2 3
1 GEBLC105 ภาษาอังกฤษเพื่อทักษะการทำงาน
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 ความรู้ ทักษะทางปัญญา ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ สอบกลางภาค 8 25%
2 ความรู้ ทักษะทางปัญญา ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ สอบปลายภาค 17 25%
3 ความรู้ ทักษะทางปัญญา ความสัมพันธ์ระหว่างบบุคคลและความรับผิดชอบ ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ คะแนนเก็บ เช่น กิจกรรมในชั้นเรียน task ชิ้นงานมอบหมาย แบบฝึกหัด ฝึกปฏิบัติ การสนทนา การแสดงบทบาทสมมุติ การนำเสนอ สอบย่อยท้ายบท ตลอดภาคการศึกษา 40%
4 คุณธรรมจริยธรรม จิตพิสัย สังเกตพฤติกรรมการร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน ความมีวินัย ความตรงต่อเวลาในการเข้าชั้นเรียนและส่งงานตามกำหนด ตลอดภาคการศึกษา 10%
Oxford Business Essentials B1