ภาษาจีนในชีวิตประจำวัน

Chinese for Everyday Use

เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับทักษะการฟัง พูด อ่าน เขียน และการออกเสียงในระบบสัทอักษรจีน คำศัพท์ และประโยคพื้นฐานที่ใช้ในชีวิตประจำวัน
เพื่อใช้ในการจัดการเรียนการสอนสำหรับหลักสูตรบัญชีบัณฑิต ซึ่งเป็นหลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2565 ให้เป็นไปตามเกณฑ์ประกันคุณภาพของสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.)
ทักษะการฟัง พูด อ่าน เขียน และการออกเสียงในระบบสัทอักษรจีน คำศัพท์ และประโยคพื้นฐานที่ใช้ในชีวิตประจำวัน  
Listening,speaking,reading,writing skills,and pronunciation of Chinese phonetics system;Chinese vocabulary and basic sentence for everyday use
อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
[  l  ] เน้นหลัก     [ O ]  เน้นรอง          1.1 มีทัศนคติที่ดี เคารพศักดิ์ศรีและคุณค่าความเป็นมนุษย์  [ O ] 1.2 มีวินัย ตรงต่อเวลา และปฎิบัติตามวัฒนธรรมองค์กรที่ดี           1.3 มีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม          1.4 มีจิตสาธารณะในการทำคุณประโยชน์ต่อผู้อื่นและสังคม  [ O ] 1.5 มีความซื่อสัตย์ สุจริต และมีจรรยาวิชาการและวิชาชีพ
1.2.1 สอดแทรกหลักจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพในเนื้อหารายวิชา    1.2.2 จัดกิจกรรมในรายวิชาเพื่อส่งเสริมให้นักศึกษามีจิตสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม   1.2.3 สร้างวัฒนธรรมองค์กร โดยมีผู้สอนเป็นแบบอย่างที่ดี เพื่อปลูกฝังให้นักศึกษามีระเบียบวินัย ตรงต่อเวลา มีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม มีจรรยาวิชาการและวิชาชีพ  1.2.4 ส่งเสริมให้นักศึกษาเข้าร่วมกิจกรรมต่าง ๆ ทั้งภายในมหสวิทยาลัยและชุมชน เพื่อเรียนรู้หน้าที่ของการเป็นผู้นำและการเป็นสมาชิกของกลุ่มเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1.3.1 สังเกตพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรมในรายวิชาที่ส่งเสริมให้นักศึกษามีจิตสาธ่ารณะ และตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม 1.3.2 บันทึกและติดตามการตรงต่อเวลาในการเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกำหนด ระยะเวลาที่มอบหมายและการเข้าร่วมกิจกรรม 1.3.3 การประเมินตนเอง และการประเมินโดยเพื่อนร่วมชั้นเรียน 1.3.4 ประเมินผลงานโดยตรวจสอบการคัดลอกผลงานการเขียนทางวิชาการ
[  l  ] 2.1.1 จดจำและออกเสียงภาษาอังกฤษและ/หรือภาษาต่างประเทศ (ภาษาจีน) ได้อย่างถูกต้อง        [  l  ]   2.1.2 วิเคราะห์โครงสร้างและความหมายของคำ วลี และประโยคได้  2.1.3 เปรียบเทียบการใช้ภาษาอังกฤษในวัฒนธรรมที่หลากหลายได้         2.1.4 แปลความภาษาอังกฤษเป็นภาษาไทย และภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษ  [ O ]2.1.5 สรุปใจความและประเด็นสำคัญจากสิ่งที่ฟังและอ่านได้ถูกต้อง         2.1.6 ตีความ วิเคราะห์ วิจารณ์ และแสดงความคิดเห็นด้านภาษาและวัฒนธรรมอย่างสร้างสรรค์         2.1.7 ประเมินความเหมาะสมของการใช้วัจนภาษา และอวัจนภาษาเพื่อการสื่อสารในบริบทวัฒนธรรมข้ามชาติได้
2.2.1 จัดรูปแบบการเรียนการสอนที่หลากหลายโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญตามลักษณะของรายวิชา และเนื้อหาสาระของรายวิชานั้น ๆ 2.2.2 จัดกิจกรรมให้นักศึกษาได้ประยุกต์ใช้ความรู้ในการฝึกปฎิบัติในสภาพแวดล้อมจริงและสถานการณ์จำลอง 2.2.3 จัดให้มีการเรียนรู้จากสถานการณ์จริง โดยการศึกษาดูงาน หรือการเชิญผู้เชี่ยวชาญมาเป็นวิทยากรให้ความรู้ 2.2.4 มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม นำเสนอ และถ่ายทอดความรู้แก่เพื่อนร่วมชั้นเรียนหรือผู้สนใจทั่วไป 2.2.5 ศึกษาเรียนรู้เพิ่มเติมด้วยตนเองโดยใช้เทคโนโลยีเพื่อการค้นคว้า หาความรู้ และการเรียนรู้ออนไลน์ในแบบต่าง ๆ 2.2.6 สนับสนุนให้นักศึกษาเข้าร่วมกิจกรรมการแข่งขันด้านทักษะและความสามารถภาษาอังกฤษ ตลอดจนกิจกรรมการแลกเปลี่ยนนักศึกษานานาชาติ
2.3.1 สอบกลางภาคและปลายภาค โดยใช้การสอยข้อเขียน และการสอบปากเปล่า 2.3.2 ทดสอบย่อยและการสอบปฎิบัติตามจุดประสงค์การเรียนรู้ในรายวิชา 2.3.3 การนำเสนอผลงานและการเขียนรายงานรายบุคคล รายคู่ และรายกลุ่ม 2.3.4 สังเกตจากการอภิปรายกลุ่มและแสดงความคิดเห็น
 3.1.1 มีทักษะในการปฎิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางวิชาการและวิชาชีพ         3.1.2 มีทักษะในการนำความรู้มาประยุกต์และปรับเปลี่ยนตามวัฒนธรรมสากล         3.1.3 มีทักษะในการประยุกต์ใช้ภาษามาวิเคราะห์ วิจารณ์อย่างมีเหตุผล และสามารถแก้ปัญหาอย่างมีระบบ
3.2.1 จัดกิจกรรมให้นักศึกษาได้ฝึกปฎิบัติผ่านทางบทบาทสมมุติในสถานการณ์จำลอง 3.2.2 การระดมสมองและอภิปรายโต้แย้งในหัวข้อที่กำหนด 3.2.3 จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรายวิชาตามแนว Constructivism (การสร้างความรู้ด้วยตนเอง) เช่น การเรียนรู้แบบเน้นภาระงาน การเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน การเรียนรู้โดยใช้โครงการเป็นฐาน และกรบวนการคิดเชิงออกแบบ 3.2.4 จัดให้นักศึกษาได้ฝึกประสบการณ์ในสถานประกอบการตามหลักบูรณาการการเรียนการสอนกับการทำงาน
3.3.1 ประเมินตามสภาพจริงจากผลงานและผลการปฎิบัติของนักศึกษา 3.3.2 ประเมินและติดตามกระบวนการปฎิบัติงาน 3.3.3 จัดการสัมมนา การอภิปรายกลุ่มและแสดงความคิดเห็น 3.3.4 การประเมินตนเอง และการประเมินโดยเพื่อนร่วมชั้นเรียน 3.3.5 การประเมินตนเองโดยการสะท้อนคิดของผู้เรียน เพื่อนร่วมชั้นเรียนหรือคณาจารย์
 4.1.1 มีความสามารถเป็นทีม มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม          4.1.2 ประมวลทักษะและองค์ความรู้ด้านภาษาอังกฤษเพื่อนำมาใช้ในการทำงานของตนเองอย่างมีประสิทธิภาพ [ O ] 4.1.3 ใช้ภาษาเพื่อการสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ และสร้างความสัมพันธ์ที่ดีในสังคมข้ามวัฒนธรรม 
4.2.1 สอดแทรกความรู้เกี่ยวกับหลักมนุษยสัมพันธ์และมารยาททางสังคมที่ดีของวัฒนธรรมต่าง ๆ ในเนื้อหารายวิชา 4.2.2 จัดให้นักศึกษาได้ทำกิจกรรมเป็นกลุ่มในรายวิชา มุ่งเน้นการเรียนรู้แบบร่วมมือกันโดยเปลี่ยนบทบาทให้มีโอกาสเป็นทั้งผู้นำและผู้ตาม 4.2.3 ส่งเสริมให้นักศึกษาเข้าร่วมกิจกรรมต่าง ๆทั้งภายในมหาวิทยาลัยและบริการชุมชน เพื่อเรียนรู้กระบวนการกลุ่ม ทักษะสัมพันธ์ ภสวะผู้นำ ให้เกียรติ ตระหนักถึงหน้าที่และสิทธิของมนุษย์ 4.2.4 ส่งเสริมให้นักศึกษาเข้าร่วมกิจกรรมแลกเปลี่ยนภาษาและวัฒนธรรมนานาชาติ 
4.3.1 สังเกตพฤติกรรมและบทบาทของนักศึกษาในกระบวนการกลุ่ม 4.3.2 ประเมินและติดตามกระบวนการเรียนรู้ 4.3.3 การสะท้อนคิดต่อกระบวนการกลุ่ม 4.3.4 การประเมินตนเอง และการประเมินโดยเพื่อน
 5.1.1 วิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ และคุณภาพอย่างถูกต้อง         5.1.2 นำเสนอข้อมูลได้อย่างมีประสิทธิภาพ         5.1.3 ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิทัล เพื่อพัฒนากระบวนการทำงานด้านภาษาอังกฤษอย่างเหมาะสม  [ O ] 5.1.4 ใช้ภาษาอังกฤษ ภาษาไทย และภาษาต่างประเทศ ในการสื่อสารได้อย่างเหมาะสมตามกาลเทศะของบริบทวัฒนธรรมข้ามชาติ และวัฒนธรรมนานาชาติ
5.2.1 สอดแทรกความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเครื่องมือในการติดต่อสื่อสาร การค้นคว้าข้อมูล และการนำเสนอผลงาน 5.2.2 มอบหมายงานให้นักศึกษาใช้เครื่องมือเทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้น ศึกษารวบรวม วิเคราะห์และตรวจสอบข้อมูล ตลอดจนการนำเสนองานและการทำรายงาน 5.2.3 ประยุกต์ใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อพัฒนากระบวนการเรียนรู้และทำงานด้านภาษาอังกฤษอย่างเหมาะสม 5.2.4 แนะนำแหล่งเรียนรู้ออนไลน์และนอกห้องเรียนเพื่อเสริมทักษะภาาา ตัวเลข และเทคโนโลยีสารสนเทศ ตามความสนใจและความต้องการของนักศึกษา 5.2.5 จัดการเรียนการสอน และกิจกรรมออนไลน์ในรูปแบบต่าง ๆ
5.3.1 การประเมินผลงาน รายงาน และการนำเสนองาน 5.3.2 สอบย่อยตามวัตถุประสงค์ของรายวิชา 5.3.3 กลางภาคและปลายภาค โดยใช้การสอบข้อเขียน และการสอบปากเปล่า 5.3.4 มีเกณฑ์การประเมินผลการเรียนในรูปแบบการเรียนการสอนออนไลน์
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 ทดสอบย่อย ตลอดภาคการศึกษา 15%
2 สอบกลางภาค, สอบปลายภาค 9,17 25%,25%
3 การทำงานกลุ่มและนำเสนอผลงาน ตลอดภาคการศึกษา ตลอดภาคการศึกษา
4 การส่งงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 10%
5 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
พรรณภา สิริมงคลกุล.ฟัง พูด อ่าน เขียน เรียนจีนกลาง ฉบับสมบูรณ์ เล่ม1.สำนักพิมพ์เอ็มไอเอส,2558 เธียรชัย เอี่ยมวรเมธ. พจนานุกรม จีน-ไทย. สํานักพิมพ์รวมสาส์น, 2555.  
เว็บไซต์ต่างๆทีเกี่ยวข้องกับเนื้อหาตลอดจนแบบฝึกหัดออนไลน์
- การประเมินผลการสอนโดยใช้แบบประเมินของฝ่ายวิชาการ กองการศึกษา - ให้นักศึกษาเสนอแนะเนื้อหาในรายวิชาและกิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อนำไปปรับปรุง
- สอบถามความคิดเห็นของนักศึกษาเมื่อสิ้นสุดการเรียนแต่ละหน่วยเรียน - สังเกตจากพฤติกรรมของนักศึกษาในการทำกิจกรรมต่าง ๆ ในชั้นเรียน - ประเมินจากคะแนนแบบฝึกหัดแต่ละบทเรียนและความเข้าใจในเนื้อหา - ประเมินจากผลการสอบกลางภาคและปลายภาคของนักศึกษา
- ปรับปรุงเนื้อหาให้มีความทันสมัยและมีระดับภาษาที่เหมาะสมกับกับระดับของผู้เรียน - สำรวจรูปแบบการเรียนรู้ของนักศึกษาก่อนเรียน และปรับปรุงรูปแบบกิจกรรมให้เหมาะสม (โดยเน้นกิจกรรมในลักษณะของงานกลุ่ม) - สรุปผลการทำกิจกรรมในชั้นเรียนแต่ละครั้ง เพื่อนำมาปรับปรุงครั้งต่อ ๆ ไป
ในระหว่างการเรียนการสอนมีการตรวจแบบฝึกหัดในลักษณะของงานกลุ่ม การสอบพูดรายบุคล โดยตรวจสอบคะแนนของนักศึกษาแต่ละคนว่ามีการพัฒนาก้าวหน้า หรือไม่มีการพัฒนา จากนั้นแก้ไขโดยการอธิบายทำความเข้าใจกับนักศึกษาทั้งชั้น หรือเป็นรายบุคคล พร้อมทั้งแจ้งผลคะแนนจากแบบฝึกหัดและคะแนนสอบเป็นระยะอย่างต่อเนื่อง
- ทบทวนเนื้อหาในบทเรียน โดยเลือกระดับของภาษาให้เหมาะสมกับระดับของผู้เรียน ตามที่ได้ทดสอบไว้ตั้งแต่สัปดาห์แรก - มีการปรับปรุงเนื้อหาทุกปี ตามสภาวการณ์ใหม่ ๆ และความน่าสนใจ - ปรับปรุงรูปแบบกิจกรรมให้มีความหลากหลาย และสนองตอบต่อรูปแบบการเรียนรู้ที่หลากหลายของกลุ่มผู้เรียน ตามที่ได้สำรวจไว้ตั้งแต่สัปดาห์แรก - ปรับปรุงรายวิชาตามข้อเสนอแนะของนักศึกษา และของผู้ทรงคุณวุฒิที่ตรวจสอบรายวิชาในการประเมินคุณภาพการศึกษาประจำปี