ออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมประเภทอุปโภคบริโภค
Consumer Industrial Product Design
1. ฝึกปฏิบัติ ออกแบบผลิตภัณฑ์ประเภทอุปโภคบริโภค ที่มีกลไกอย่างง่ายตามกระบวนการออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
2. ฝึกปฏิบัติ การนำแรงบันดาลใจมาใช้ในการออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
3. กำหนดลักษณะแบบอย่างผลิตภัณฑ์และพัฒนารูปทรงผลิตภัณฑ์และประโยชน์ใช้สอย
4. กำหนดวัสดุและกรรมวิธีการผลิตที่เกี่ยวข้องกับงานออกแบบผลิตภัณฑ์
5. เห็นคุณค่าของการใช้หลักการออกแบบ สามารถนำเสนองานออกแบบผลิตภัณฑ์ประเภทอุปโภคบริโภค ที่มีกลไกอย่างง่ายตามกระบวนการออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
2. ฝึกปฏิบัติ การนำแรงบันดาลใจมาใช้ในการออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
3. กำหนดลักษณะแบบอย่างผลิตภัณฑ์และพัฒนารูปทรงผลิตภัณฑ์และประโยชน์ใช้สอย
4. กำหนดวัสดุและกรรมวิธีการผลิตที่เกี่ยวข้องกับงานออกแบบผลิตภัณฑ์
5. เห็นคุณค่าของการใช้หลักการออกแบบ สามารถนำเสนองานออกแบบผลิตภัณฑ์ประเภทอุปโภคบริโภค ที่มีกลไกอย่างง่ายตามกระบวนการออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
1. ให้นักศึกษามีทักษะในการปฏิบัติ ออกแบบผลิตภัณฑ์ประเภทอุปโภคบริโภค ที่มีกลไกอย่างง่ายตามกระบวนการออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
2. ให้นักศึกษามีทักษะในการฝึกปฏิบัติการนำแรงบันดาลใจมาใช้ในการออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
3. ให้นักศึกษามีทักษะในการกำหนดลักษณะแบบอย่างผลิตภัณฑ์และพัฒนารูปทรงผลิตภัณฑ์และประโยชน์ใช้สอย
4. ให้นักศึกษามีทักษะในการกำหนดวัสดุและกรรมวิธีการผลิตที่เกี่ยวข้องกับงานออกแบบผลิตภัณฑ์
5. ให้นักศึกษาเห็นคุณค่าของการใช้หลักการออกแบบ สามารถนำเสนองานออกแบบผลิตภัณฑ์ประเภทอุปโภคบริโภค ที่มีกลไกอย่างง่ายตามกระบวนการออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
2. ให้นักศึกษามีทักษะในการฝึกปฏิบัติการนำแรงบันดาลใจมาใช้ในการออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
3. ให้นักศึกษามีทักษะในการกำหนดลักษณะแบบอย่างผลิตภัณฑ์และพัฒนารูปทรงผลิตภัณฑ์และประโยชน์ใช้สอย
4. ให้นักศึกษามีทักษะในการกำหนดวัสดุและกรรมวิธีการผลิตที่เกี่ยวข้องกับงานออกแบบผลิตภัณฑ์
5. ให้นักศึกษาเห็นคุณค่าของการใช้หลักการออกแบบ สามารถนำเสนองานออกแบบผลิตภัณฑ์ประเภทอุปโภคบริโภค ที่มีกลไกอย่างง่ายตามกระบวนการออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
ฝึกปฏิบัติ ออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมประเภทอุปโภคบริโภค สร้างแรงบันดาลใจในการออกแบบ กำหนดลักษณะแบบอย่างผลิตภัณฑ์ พัฒนารูปทรงผลิตภัณฑ์ และประโยชน์ใช้สอย วัสดุและกรรมวิธีการผลิตที่เกี่ยวข้องกับงานออกแบบผลิตภัณฑ์ที่มีกลไกอย่างง่าย ผลิตภัณฑ์ประเภทอุปโภคบริโภค ตามกระบวนการออกแบบผลิตภัณฑ์
อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
ฝึกให้นักศึกษาเป็นผู้มีวินัย ตรงต่อเวลา และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
ให้นักศึกษาเป็นผู้เคารพและให้เกียรติความคิดและความรู้ของบุคคลอื่นๆ และมีความซื่อสัตย์
ให้นักศึกษาเป็นผู้เคารพและให้เกียรติความคิดและความรู้ของบุคคลอื่นๆ และมีความซื่อสัตย์
ฝึกให้นักศึกษาเป็นผู้มีความอดทนอดกลั้น สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างไม่มีอคติในการทำงาน โดยสามารถทำงานได้ในเวลาที่กำหนดให้
ประเมินพฤติกรรมการเรียนด้วยคะแนนจิตพิสัย 10%
ความรู้ที่ต้องได้รับ นักศึกษาจะต้องมีทักษะปฏิบัตินำความรู้ในการนำหลักการออกแบบมาใช้ในออกแบบผลิตภัณฑ์ประเภทอุปโภคบริโภค ได้อย่างถูกต้องสมบูรณ์
สอนโดยการบรรยายและสาธิต ประกอบสื่อการสอนและตัวอย่าง และกำหนดให้ฝึกปฏิบัติงานในและนอกชั้นเรียนเพื่อเป็นการเพิ่มทักษะความเข้าใจและส่งงานตามเวลาที่กำหนดให้
ประเมินผลจากงานฝึกปฏิบัติในชั้นเรียน 30% ฝึกปฏิบัติงานนอกชั้นเรียน 30% และจากการสอบ 30% จิตพิสัย 10%
ให้นำหลักการออกแบบมาใช้ในการออกแบบผลิตภัณฑ์ประเภทอุปโภคบริโภค ได้อย่างถูกต้องสมบูรณ์
สอนโดยการสาธิตการปฏิบัติประกอบสื่อการสอนและตัวอย่าง แล้วให้นักศึกษาปฏิบัติการหาข้อมูลและฝึกปฏิบัติออกแบบ และกำหนดให้ฝึกปฏิบัติงานนอกชั้นเรียนเพื่อเป็นการเพิ่มทักษะปฏิบัติ และฝึกการปฏิบัติจากโจทย์จากความต้องการจริงในการลงพื้นที่เพื่อส่งงานประกวด โดยส่งงานตามเวลาที่กำหนดให้
จากงานที่ฝึกปฏิบัติ และนำเสนองานในและนอกชั้นเรียน
จากการทดสอบในชั้นเรียน
การส่งงานประกวด
การสอบกลางภาคและปลายภาคเรียน
จากการทดสอบในชั้นเรียน
การส่งงานประกวด
การสอบกลางภาคและปลายภาคเรียน
ความรับผิดชอบในงานที่มอบหมาย
ความรับผิดชอบต่อตนเองและส่วนรวม การแก้ปัญหาในการทำการออกแบบฯ
ความตรงต่อเวลา
ความรับผิดชอบต่อตนเองและส่วนรวม การแก้ปัญหาในการทำการออกแบบฯ
ความตรงต่อเวลา
บรรยายและสาธิตพร้อมแสดงตัวอย่างประกอบ ที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหาแต่ละสัปดาห์
มอบหมายให้ปฏิบัติงาน
ตรวจงานด้วยการให้ น.ศ. นำเสนอผลงานหน้าชั้นเรียน
สอบปฏิบัติกลางภาคและปลายภาค
มอบหมายให้ปฏิบัติงาน
ตรวจงานด้วยการให้ น.ศ. นำเสนอผลงานหน้าชั้นเรียน
สอบปฏิบัติกลางภาคและปลายภาค
การตรวจสอบพฤติกรรมการเข้าเรียน และการส่งงานได้ตรงตามขอบเขต และเวลาที่กำหนดไว้
การประเมินผลการงานทำงาน โดยให้นักศึกษามีส่วนร่วมในการประเมิน
การประเมินผลการงานทำงาน โดยให้นักศึกษามีส่วนร่วมในการประเมิน
ทักษะในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสื่อสาร การส่งข้อมูลทาง microsoft team
สอนโดยการบรรยายประกอบตัวอย่างโครงการ แล้วให้นักศึกษาฝึกปฏิบัติการค้นคว้าข้อมูล และกำหนดให้ฝึกปฏิบัติงานทั้งในและนอกชั้นเรียนเพื่อเป็นการเพิ่มทักษะปฏิบัติและส่งงานตามเวลาที่กำหนดให้
ตรวจผลงานปฏิบัติในชั้นเรียน
ผลการสอบกลางภาคและปลายภาค
จากพฤติกรรมการทำงาน ความรับผิดชอบ และการตรงเวลา
ผลการสอบกลางภาคและปลายภาค
จากพฤติกรรมการทำงาน ความรับผิดชอบ และการตรงเวลา
มีทักษะในการหาแนวทาง ปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง
มีทักษะในการทำตามแบบและปฏิบัติงานได้ตามข้อแนะนำ
มีทักษะในการปฏิบัติงานสร้างสรรค์ผลงาน
มีทักษะในการทำตามแบบและปฏิบัติงานได้ตามข้อแนะนำ
มีทักษะในการปฏิบัติงานสร้างสรรค์ผลงาน
บรรยายพร้อมแสดงตัวอย่างประกอบ ที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหาแต่ละสัปดาห์
มอบหมายให้ปฏิบัติงานตามโจทย์การประยุกต์ให้สอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบัน
มอบหมายให้ปฏิบัติงานตามโจทย์การประยุกต์ให้สอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบัน
งานที่ฝึกปฏิบัติในและนอกชั้นเรียน ทั้งในชั่งโมงเรียนและโครงงาน ท้ายเทอม
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา | 1.คุณธรรมจริยธรรม | 2.ความรู้ | 3.ทักษะทางปัญญา | 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ | 5.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ | 6.ทักษะพิสัย | ||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ลำดับ | รหัสวิชา | ชื่อวิชา | 1 | 2 | 3 | 1 | 2 | 3 | 4 | 1 | 2 | 3 | 4 | 1 | 2 | 3 | 1 | 2 | 3 | 1 |
1 | BAAID127 | ออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมประเภทอุปโภคบริโภค |
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล |
---|---|---|---|---|
1 | 1.2,1.1,2.1,2.3,6.2,6.1,6.3 | ผลงานปฏิบัติรายสัปดาห์ | ตลอดภาคการศึกษา | 65% |
2 | 4.2,4.3 | การมีส่วนร่วมในชั้นเรียน | ตลอดภาคการศึกษา | 5% |
3 | 3.2,3.1,3.4,5.1,5.3,5.2 | สอบกลางภาค | 8 | 10% |
4 | 3.2,3.1,3.4,5.1,5.3,5.2 | สอบปลายภาค | 16 | 15% |
5 | 1.2,1.1,6.2,6.1,6.3 | การเข้าเรียน การมีส่วนร่วม การอภิปราย เสนอความคิดในชั้นเรียน | ตลอดภาคการศึกษา | 5% |
สังเกตการณ์จากพฤติกรรมของผู้เรียน
แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ให้อาจารย์ที่ปรึกษาของนักศึกษาแจ้งผู้รับผิดชอบรายวิชา ในกรณีที่เกิดปัญหาของผู้เรียนเกี่ยวข้องกับการเรียนการสอนในรายวิชานี้
ข้อเสนอแนะผ่านแบบสอบถามที่ผู้รับผิดชอบรายวิชาจัดทำ
แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ให้อาจารย์ที่ปรึกษาของนักศึกษาแจ้งผู้รับผิดชอบรายวิชา ในกรณีที่เกิดปัญหาของผู้เรียนเกี่ยวข้องกับการเรียนการสอนในรายวิชานี้
ข้อเสนอแนะผ่านแบบสอบถามที่ผู้รับผิดชอบรายวิชาจัดทำ
การสังเกตการณ์การเรียนรู้
ผลการปฏิบัติงานในชั้นเรียนเมื่อจบบทเรียน
ผลการทำโครงการฯ (project ท้ายเทอมในรายวิชา)
ผลการปฏิบัติงานในชั้นเรียนเมื่อจบบทเรียน
ผลการทำโครงการฯ (project ท้ายเทอมในรายวิชา)
ทำการวิเคราะห์ข้อมูลที่ได้จากการประเมินการสอนและผลการประเมินประสิทธิผลของรายวิชาโดยนักศึกษา
ปรึกษาและสรุปทบทวนกิจกรรมการเรียนการสอนร่วมกันระหว่างผู้สอน
สัมมนาการจัดการเรียนการสอนในระดับภาควิชา ร่วมกับผู้รับผิดชอบรายวิชาและผู้สอนในกลุ่มวิชาหลักสาขา
วางแผนและดำเนินการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
บูรณาการร่วมกับรายวิชาอื่นที่เกี่ยวข้อง
ปรึกษาและสรุปทบทวนกิจกรรมการเรียนการสอนร่วมกันระหว่างผู้สอน
สัมมนาการจัดการเรียนการสอนในระดับภาควิชา ร่วมกับผู้รับผิดชอบรายวิชาและผู้สอนในกลุ่มวิชาหลักสาขา
วางแผนและดำเนินการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
บูรณาการร่วมกับรายวิชาอื่นที่เกี่ยวข้อง
ในระหว่างกระบวนการสอน มีการทบทวนผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ โดยการสอบถามจากนักศึกษา อาจารย์ผู้สอน และแบบทดสอบย่อยในชั้นเรียน
เมื่อสิ้นสุดการเรียนการสอนในแต่ละภาคการศึกษา มีการสนทนาแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างกลุ่มอาจารย์ผู้สอน และสนับสนุนให้มีการจัดตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบผลงานวิธีการให้คะแนน และพฤติกรรมในการเรียนรู้และส่งงาน
เมื่อสิ้นสุดการเรียนการสอนในแต่ละภาคการศึกษา มีการสนทนาแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างกลุ่มอาจารย์ผู้สอน และสนับสนุนให้มีการจัดตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบผลงานวิธีการให้คะแนน และพฤติกรรมในการเรียนรู้และส่งงาน
จากผลการประเมินและทวนสอบผลสัมฤทธิ์ ควรมีการปรับปรุงรายละเอียดย่อยของรายวิชา
ตามผลการประชุมร่วมระหว่างผู้สอนเป็นรายปี และปรับปรุงรายวิชาทุก 4 ปี หรือตามข้อเสนอแนะ
(จากผลการประชุมร่วมระหว่างผู้สอนและจากนักศึกษา) และผลการทวนสอบมาตรฐานสัมฤทธิ์