หน่วยกระบวนการทางสิ่งแวดล้อม
Environmental Unit Processes
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการ ทฤษฎีพื้นฐานการวิเคราะห์กระบวนการ จลน์ศาสตร์ของระบบชีวเคมี และการใช้ประโยชน์จากหน่วยปฏิบัติการทางเคมีและชีววิทยาในการบำบัดน้ำและน้ำเสีย
เพื่อปรับปรุงเนื้อหาวิชาให้มีความทันต่อเทคโนโลยีการบำบัดน้ำเสียโดยวิธีการทางเคมีและชีววิทยาในปัจจุบัน ให้นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้หลักการทฤษฎีพื้นฐานในการแก้ปัญหาจากสถานการณ์จริงได้ เพื่อให้สอดคล้องกับกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2552 ของกระทรวงศึกษาธิการและสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา
หลักการพื้นฐานของการวิเคราะห์กระบวนการ ลักษณะเชิงชลศาสตร์ของถังปฏิกรณ์ ถังปฏิกรณ์แบบไหลตามกันและถังปฏิกรณ์แบบไหลต่อเนื่อง การใช้ประโยชน์จากหน่วยปฏิบัติการทางเคมีและชีววิทยาในการบำบัดน้ำและน้ำเสีย การทำให้เป็นกลาง การตกผลึกไอออน การแลกเปลี่ยนไอออน และการฆ่าเชื้อโรค จลน์ศาสตร์ของระบบชีวเคมี แบบจำลองของถังปฏิกรณ์ชีวเคมี ระบบการเติบโตแบบแขวนลอยและเกาะติด
ให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ) และสามารถติดต่อได้ทางโทรศัพท์ หรือ e-mail address : Siraprapha42@yahoo.com
1.1.5 มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ และมีความรับผิดชอบในฐานะผู้ประกอบวิชาชีพ รวมถึงเข้าใจถึงบริบททางสังคมของวิชาชีพวิศวกรรมในแต่ละสาขา ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน
1.2.1 ให้ความรู้โดยสอดแทรกคุณธรรม จริยธรรมในเนื้อหาของบทเรียนต่างๆ
1.2.2 ให้นักศึกษาทำที่มอบหมายด้วยตัวเอง และส่งภายในเวลาที่กำหนด โดยค้นคว้าจากแหล่งข้อมูลต่างๆ และมีการอ้างอิงแหล่งที่มาโดยไม่มีการคัดลอกหรือแอบอ้างผลงานผู้อื่นมาเป็นของตนเอง
1.2.3 ให้นักศึกษานำความรู้ที่ค้นคว้ามา แลกเปลี่ยนความรู้กับเพื่อนในกลุ่มและนำเสนอผลงานเขียนที่สร้างสรรค์ โดยไม่ส่งผลกระทบในทางลบต่อสังคมและชุมชน
1.2.2 ให้นักศึกษาทำที่มอบหมายด้วยตัวเอง และส่งภายในเวลาที่กำหนด โดยค้นคว้าจากแหล่งข้อมูลต่างๆ และมีการอ้างอิงแหล่งที่มาโดยไม่มีการคัดลอกหรือแอบอ้างผลงานผู้อื่นมาเป็นของตนเอง
1.2.3 ให้นักศึกษานำความรู้ที่ค้นคว้ามา แลกเปลี่ยนความรู้กับเพื่อนในกลุ่มและนำเสนอผลงานเขียนที่สร้างสรรค์ โดยไม่ส่งผลกระทบในทางลบต่อสังคมและชุมชน
1.3.1 ประเมินจากการตรงเวลาของนักศึกษาในภาพเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที่มอบหมายและการร่วมกิจกรรม
1.3.3 ปริมาณการกระทำทุจริตในการสอบ
1.3.4 ประเมินจากความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
1.3.5 ประเมินจากคุณภาพของงานที่ได้รับมอบหมาย ที่สะท้อนถึงความตั้งใจ ความรับผิดชอบของนักศึกษา
1.3.3 ปริมาณการกระทำทุจริตในการสอบ
1.3.4 ประเมินจากความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
1.3.5 ประเมินจากคุณภาพของงานที่ได้รับมอบหมาย ที่สะท้อนถึงความตั้งใจ ความรับผิดชอบของนักศึกษา
2.1.1 มีความรู้และความเข้าใจทางคณิตศาสตร์พื้นฐาน วิทยาศาสตร์พื้นฐาน วิศวกรรมพื้นฐาน และเศรษฐศาสตร์ เพื่อการประยุกต์ใช้กับงานทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง และการสร้างนวัตกรรมทางเทคโนโลยี
2.1.2 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการที่สำคัญ ทั้งในเชิงทฤษฎีและปฏิบัติ ในเนื้อหาของสาขาวิชาเฉพาะด้านทางวิศวกรรม
2.1.3 สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
2.1.2 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการที่สำคัญ ทั้งในเชิงทฤษฎีและปฏิบัติ ในเนื้อหาของสาขาวิชาเฉพาะด้านทางวิศวกรรม
2.1.3 สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
2.2.1 บรรยาย และ ให้ศึกษาความรู้ในบทเรียนเพิ่มเติมและแลกเปลี่ยนความรู้กับเพื่อนในกลุ่ม
2.2.2 อธิบายเป็นขั้นตอนและเปิดโอกาสให้ซักถาม
2.2.3 ได้จัดให้มีการเรียนรู้จากสถานการณ์จริงโดยการนำนักศึกษาไปทัศนศึกษาดูงานในสถานประกอบการจริง พร้อมให้นักศึกษาทำรายงานประกอบเป็นกลุ่มพร้อมนำเสนอผลงาน
2.2.2 อธิบายเป็นขั้นตอนและเปิดโอกาสให้ซักถาม
2.2.3 ได้จัดให้มีการเรียนรู้จากสถานการณ์จริงโดยการนำนักศึกษาไปทัศนศึกษาดูงานในสถานประกอบการจริง พร้อมให้นักศึกษาทำรายงานประกอบเป็นกลุ่มพร้อมนำเสนอผลงาน
2.3.1 การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน
2.3.2 ประเมินจากรายงานที่นักศึกษาจัดทำ
2.3.3 ประเมินจากการนำเสนอรายงานในชั้นเรียน
2.3.2 ประเมินจากรายงานที่นักศึกษาจัดทำ
2.3.3 ประเมินจากการนำเสนอรายงานในชั้นเรียน
3.1.2 สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และ สรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ
3.1.3 สามารถคิด วิเคราะห์ และแก้ไขปัญหาด้านวิศวกรรมได้อย่างมีระบบ รวมถึงการใช้ข้อมูลประกอบการตัดสินใจในการทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
3.1.3 สามารถคิด วิเคราะห์ และแก้ไขปัญหาด้านวิศวกรรมได้อย่างมีระบบ รวมถึงการใช้ข้อมูลประกอบการตัดสินใจในการทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
3.2.1 ให้นักศึกษาระดมสมอง แสดงความคิดเห็นทั้งเป็นรายบุคลคลและเป็นกลุ่มย่อย
3.2.2 ให้นักศึกษาดูงานระบบในสถานที่จริง
3.2.3 ให้นักศึกษาได้มีการนำเสนอแบบอภิปรายกลุ่ม
3.2.2 ให้นักศึกษาดูงานระบบในสถานที่จริง
3.2.3 ให้นักศึกษาได้มีการนำเสนอแบบอภิปรายกลุ่ม
3.3.1 การร่วมกลุ่มกิจกรรมในชั้นเรียน
3.3.2 พิจารณาจากงานที่มอบหมาย
3.3.3 การสรุปความคิดรวบยอดของแต่ละหน่วยเรียน
3.3.4 การทดสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน
3.3.2 พิจารณาจากงานที่มอบหมาย
3.3.3 การสรุปความคิดรวบยอดของแต่ละหน่วยเรียน
3.3.4 การทดสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน
4.1.3 สามารถวางแผนและรับผิดชอบในการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเอง และสอดคล้องกับทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
4.1.5 มีจิตสำนึกความรับผิดชอบด้านความปลอดภัยในการทำงาน และการรักษาสภาพแวดล้อมต่อสังคม
4.1.5 มีจิตสำนึกความรับผิดชอบด้านความปลอดภัยในการทำงาน และการรักษาสภาพแวดล้อมต่อสังคม
4.2.1 จัดกิจกรรมแบบกลุ่มย่อยในชั้นเรียน ในการวิเคราะห์กรณีศึกษา
4.2.2 มอบหมายงานรายบุคคล เช่น การค้นคว้าความรู้ด้านต่างๆเพิ่มเติมที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหา
4.2.3 กำหนดให้นักศึกษาหาตัวอย่างที่เกี่ยวข้องกับโรงงานต่างๆ รวมทั้งไปศึกษาในสถาน
4.2.2 มอบหมายงานรายบุคคล เช่น การค้นคว้าความรู้ด้านต่างๆเพิ่มเติมที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหา
4.2.3 กำหนดให้นักศึกษาหาตัวอย่างที่เกี่ยวข้องกับโรงงานต่างๆ รวมทั้งไปศึกษาในสถาน
4.2.1 จัดกิจกรรมแบบกลุ่มย่อยในชั้นเรียน ในการวิเคราะห์กรณีศึกษา
4.2.2 มอบหมายงานรายบุคคล เช่น การค้นคว้าความรู้ด้านต่างๆเพิ่มเติมที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหา
4.2.3 กำหนดให้นักศึกษาหาตัวอย่างที่เกี่ยวข้องกับโรงงานต่างๆ รวมทั้งไปศึกษาในสถานประกอบการจริง พร้อมนำเสนอรายงานและมีการซักถามและแลกเปลี่ยนข้อมูลที่ได้มา
4.2.2 มอบหมายงานรายบุคคล เช่น การค้นคว้าความรู้ด้านต่างๆเพิ่มเติมที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหา
4.2.3 กำหนดให้นักศึกษาหาตัวอย่างที่เกี่ยวข้องกับโรงงานต่างๆ รวมทั้งไปศึกษาในสถานประกอบการจริง พร้อมนำเสนอรายงานและมีการซักถามและแลกเปลี่ยนข้อมูลที่ได้มา
5.1.1 มีทักษะในการใช้อุปกรณ์และเครื่องมือที่เกี่ยวข้องกับงานวิเคราะห์ทางจุลชีววิทยาสำหรับการทำงานด้านวิชาชีพได้ สื่อสารข้อมูล สื่อความหมายโดยการใช้สัญลักษณ์ และการใช้คอมพิวเตอร์ในการทำงานเกี่ยวกับวิชาชีพวิศวกรสิ่งแวดล้อมได้เป็นอย่างดี
5.2.1 มอบหมายให้นักศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากหนังสือประกอบในห้องสมุด สื่อการสอนที่ใช้สอนในห้องเรียน และเวปไซต์ที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหาวิชา
5.2.2 กิจกรรมเรียนรู้จากการปฏิบัติการจริงที่เป็นเทคนิคเฉพาะสำหรับงานวิเคราะห์ทางจุลชีววิทยา โดยให้รวมเป็นกลุ่มและการแก้ปัญหาที่เหมาะสมในงานวิเคราะห์ตัวอย่างจริง
5.3.1 ประเมินจากรายงาน และการนำเสนอผลงานกลุ่ม
5.3.2 ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรม และการอภิปรายผล
6.1.1 มีทักษะในการปฏิบัติงานกลุ่ม มีการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ และมีความร่วมมือกันเป็นอย่างดี
6.2.1 สร้างทักษะในการปฏิบัติงาน
6.2.2 สนับสนุนการทำโครงงาน
6.2.2 สนับสนุนการทำโครงงาน
6.3.1 มีการประเมินพฤติกรรมการปฏิบัติงาน
6.3.2 มีการประเมินผลงานของนักศึกษา
6.3.3 มีการประเมินโครงงานของนักศึกษา
6.3.2 มีการประเมินผลงานของนักศึกษา
6.3.3 มีการประเมินโครงงานของนักศึกษา
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา | 1. คุณธรรม จริยธรรม | 2. ความรู้ | 3. ทักษะทางปัญญา | 4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ | 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ | ุ6. ทักษะพิสัย | ||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ลำดับ | รหัสวิชา | ชื่อวิชา | 1 | 2 | 2 | 1 | 2 | 3 | 4 | 2 |
1 | ENGEV202 | หน่วยกระบวนการทางสิ่งแวดล้อม |
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล |
---|---|---|---|---|
1 | 2.1.1,2.1.2,2.1.3 | สอบกลางภาค/สอบปลายภาค | 9/17 | 70 |
2 | 3.1.2,3.1.3,3.2.1,3.2.2,4.1.2,4.1.5 | การวิเคราะห์กรณีศึกษาค้นคว้า การนำเสนอรายงาน/การทำงานกลุ่มและผลงาน/การส่งงานตามที่มอบหมาย | ตลอดภาคการศึกษา | 20 |
3 | 1.1.5,4.2.1,4.2.2,4.2.3 | การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน | ตลอดภาคการศึกษา | 10 |
1. Tom D. Reynolds and Paul A. Richards. Unit Operations and Processes in
Environmental Engineering. 2nd Edition. PWS Publishing Company
2. Metcalf and Eddy, Inc. Wastewater Engineering Treatment and Reuse 4th Edition.,
2003.
3. เกรียงศักดิ์ อุดมสินโรจน์. วิศวกรรมการกำจัดน้ำเสีย เล่มที่ 2
4. มั่นสิน ตัณฑุลเวศม์ และ มั่นรักษ์ ตัณฑุลเวศม์ (2545) “เคมีวิทยาของน้ำและน้ำเสีย” โรงพิมพ์
แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กรุงเทพฯ
5. สันทัด ศิริอนันต์ไพบูลย์ (2552) “ระบบบําบัดน้ำเสีย การเลือกใช้ การออกแบบ การควบคุม และ
การแก้ปัญหา” สํานักพิมพ์ท้อป จํากัด กรุงเทพฯ
Environmental Engineering. 2nd Edition. PWS Publishing Company
2. Metcalf and Eddy, Inc. Wastewater Engineering Treatment and Reuse 4th Edition.,
2003.
3. เกรียงศักดิ์ อุดมสินโรจน์. วิศวกรรมการกำจัดน้ำเสีย เล่มที่ 2
4. มั่นสิน ตัณฑุลเวศม์ และ มั่นรักษ์ ตัณฑุลเวศม์ (2545) “เคมีวิทยาของน้ำและน้ำเสีย” โรงพิมพ์
แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กรุงเทพฯ
5. สันทัด ศิริอนันต์ไพบูลย์ (2552) “ระบบบําบัดน้ำเสีย การเลือกใช้ การออกแบบ การควบคุม และ
การแก้ปัญหา” สํานักพิมพ์ท้อป จํากัด กรุงเทพฯ
ไม่มี
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
2.1 การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
2.1 การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ