เขียนแบบวิศวกรรม

Engineering Drawing

      2.1.1 รู้วิธีการเขียนตัวเลข ตัวอักษร การเขียนรูปทรงเรขาคณิต การเขียนภาพฉายออร์โทกราฟฟิก(Orthograpic projection)
      2.1.2 รู้วิธีการกำหนดขนาดและรายละเอียดประกอบภาพฉายออร์โทกราฟฟิก การเขียนและการให้ขนาดภาพสามมิติ ระนาบอ้างอิงและวิวช่วย
      2.1.3 รู้วิธีการเขียนแบบชิ้นส่วนเครื่องจักรกลแบบต่างๆ การเขียนแผ่นคลี่  ศึกษาการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ช่วยในงานเขียนแบบ
     เพื่อให้นักศึกษามีความรู้และการเตรียมความพร้อมในการนำความรู้ ความเข้าใจทางด้านการฝึกทักษะพื้นฐานเขียนแบบวิศวกรรม ในการวิเคราะห์ข้อมูล วิธีการวิเคราะห์ข้อมูล และการนำผลการวิเคราะห์ไประยุกต์ใช้ในทางวิศวกรรมศาสตร์
 ศึกษาและฝึกปฏิบัติงานเกี่ยวกับการเขียนตัวเลข ตัวอักษร การเขียนรูปทรงเรขาคณิต การเขียนภาพฉายออร์โทกราฟฟิก(Orthograpic projection) การกำหนดขนาดและรายละเอียดประกอบภาพฉายออร์โทกราฟฟิก การเขียนและการให้ขนาดภาพสามมิติ ระนาบอ้างอิงและวิวช่วย การเขียนแบบชิ้นส่วนเครื่องจักรกลแบบต่างๆ การเขียนแผ่นคลี่  ศึกษาการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ช่วยในงานเขียนแบบ
อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 5 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
4.1.1   คุณธรรม จริยธรรม ที่ต้องพัฒนา
-พัฒนาผู้เรียนให้มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
- เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ ขององค์กรและสังคม
- มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมและจัดลำดับความสำคัญของงานที่ทำ
- เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นรวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
- มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
- จัดกิจกรรมกลุ่มให้ทำงานร่วมกัน
- กำหนดให้นักศึกษาทำงานตามที่มอบหมาย
-บรรยายและยกตัวอย่างกรณีศึกษาเกี่ยวกับจริยธรรม การมีวินัย ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อ
 ตนเองและสังคมเคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ ขององค์กรและสังคม
-ให้ศึกษาค้นคว้าและทำรายงานในหัวข้อที่กำหนดให้
-พฤติกรรมการเข้าเรียน การร่วมกิจกรรมและส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
-มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม
-ประเมินผลการออกแบบงานที่มอบหมาย
       - การเขียนตัวเลข ตัวอักษร การเขียนรูปทรงเรขาคณิต การเขียนภาพฉายออร์โทกราฟฟิก
       - การกำหนดขนาดและรายละเอียดประกอบภาพฉายออร์โทกราฟฟิก การเขียนและการให้ขนาดภาพสามมิติ
       - ระนาบอ้างอิงและวิวช่วย การเขียนแบบชิ้นส่วนเครื่องจักรกลแบบต่างๆ การเขียนแผ่นคลี่  ศึกษาการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ช่วยในงานเขียนแบบ
- กำหนดให้นักศึกษาทำงานตามที่มอบหมาย
 - สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบภาคปฏิบัติ
 - ตรวจงานที่สั่งรายบุคคล
 - สอบปฏิบัติรายบุคคล
4.3.1 ทักษะทางปัญญา ที่ต้องพัฒนา
       - พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างเป็นระบบ มีการวิเคราะห์ เพื่อการป้องกันและแก้ไขปัญหาที่อาจเกิดขึ้นจากการเขียนแบบ
      - มอบหมายงานให้นักศึกษารายบุคคลทำและให้ส่งงาน
       - สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบภาคปฏิบัติ
       - ตรวจงานที่สั่งรายบุคคล
       - สอบปฏิบัติรายบุคคล
4.4.1 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา
  - พัฒนาทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลจากกรณีศึกษา
  - ทักษะในการใช้เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
4.4.2 วิธีการสอน
  - มอบหมายให้ฝึกปฏิบัติและศึกษาค้นคว้าจากแหล่งความรู้ที่กำหนดให้
  - นำเสนอโดยใช้สื่อความหมายได้ชัดเจน ถูกต้อง อ่านได้ง่าย
4.4.3 วิธีการประเมินผล
  - ประเมินจากงานที่ได้รับมอบหมาย
  - พัฒนาทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลจากกรณีศึกษา
  - ทักษะในการใช้เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
  - มอบหมายให้ฝึกปฏิบัติและศึกษาค้นคว้าจากแหล่งความรู้ที่กำหนดให้
  - นำเสนอโดยใช้สื่อความหมายได้ชัดเจน ถูกต้อง อ่านได้ง่าย
  - ประเมินจากงานที่ได้รับมอบหมาย
- สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบภาคปฏิบัติ
 - ตรวจงานที่สั่งรายบุคคล
 - สอบปฏิบัติรายบุคคล
- มอบหมายให้ฝึกปฏิบัติและศึกษาค้นคว้าจากแหล่งความรู้ที่กำหนดให้
  - นำเสนอโดยใช้สื่อความหมายได้ชัดเจน ถูกต้อง อ่านได้ง่าย
  - ประเมินจากงานที่ได้รับมอบหมาย
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.2 2.2,5.4 2.2 6.1 10% 25% 10% 25% ทดสอบย่อยครั้งที่ 1 สอบกลางภาค ทดสอบย่อยครั้งที่ 2 สอบปลายภาค 4 8 12 18 10% 25% 10% 25
2 1.2,3.5,6.1 3.55.4 การส่งงานตามที่มอบหมาย ตรงต่อเวลา รายงาน ตลอดภาคการศึกษา 20%
3 1.2,4.1 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
มานพ ตัณตระบัณฑิตย์ , ไชยันต์ สิริกุล .เขียนแบบวิศวกรรม มาตรฐานญี่ปุ่น (JIS) . พิมพ์ครั้งที่ 1 .กรุงเทพฯ: สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี(ไทย – ญี่ปุ่น), 2557    ชาญฉจิต วรรณนุรักษ์ (2558). เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบวิศวกรรม.กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี.
อำนวย อุดมศรี . เขียนแบบวิศวกรรม . บริษัท สยามสปอร์ตซินดิเคท จำกัด . กรุงเทพฯ . 2540 COLIN H.SIMMONS , DENNIS E.MAGUIRE , NEIL PHELPS.MANUAL OF ENGINEERING DRAWING.THIRD EDITION . Printed and bound in Great Britain , 2009 Henry Cecil Spencer , John Thomas Dygdon , James E. Novak . BASIC TECHNICAL DRAWING . Glencoe McGraw-Hill. 2000 K.Venkata Reddy.2008.Textbook of ENGINEERING DRAWING.BS Publications , 2008
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา เช่น Wikipedia คำอธิบายศัพท์
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
              7.1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
              7.1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
              7.2.1 การสังเกตการณ์สอนของผู้สอน
              7.2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
              7.2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
              7.3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
              7.3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
              7.4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
              7.4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้