การแปลภาษาอังกฤษทางธุรกิจ

Business English Translation

เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจในหลักการและวิธีการแปลข้อความจากภาษาอังกฤษเป็นภาษาไทย และจากภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษเบื้องต้น           2.  เพื่อให้นักศึกษามีทักษะในการแปลประโยค และบทความสั้นๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งบทความและเอกสารทางธุรกิจภาษาอังกฤษเป็นภาษาไทย และจากภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษได้
เพื่อให้เนื้อหามีความสมบูรณ์และเหมาะสมกับเหตุการณ์ปัจจุบันซึ่งจะเป็นประโยชน์กับผู้เรียนมากยิ่งขึ้น  รวมทั้งพัฒนาวิธีการเรียนการสอนให้ทันสมัยและสอดคล้องกับบริบทของผู้เรียน
ศึกษาหลักการแปลทางธุรกิจเบื้องต้น ได้แก่ แบบฟอร์มและเอกสารทางราชการ และข้อความหรือบทความทางธุรกิจสั้นๆ ทั้งจากภาษาอังกฤษเป็นภาษาไทย และจากภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษ
   อาจารย์ประจำรายวิชา ประกาศเวลาให้คำปรึกษาผ่านกลุ่มสังคมออนไลน์ ( Facebooหรือ Line)   -
อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ) 
 
1.มีความรู้ความเข้าใจในหลักจริยธรรม คุณธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพทางธุรกิจ มีจิตสำนึกสาธารณะ ตระหนักให้คุณค่าของคุณธรรมจริยธรรมเสียสละ ไม่เอารัดเอาเปรียบ ซื่อสัตย์สุจริตต่อตนเองและผู้อื่น
2.  มีความพอเพียงมีวินัย ขยัน อดทน เพียรพยายาม ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเอง วิชาชีพ สังคมส่วนรวม และสิ่งแวดล้อม มีความสำนึกรับผิดชอบต่อส่วนรวม และสิ่งแวดล้อม  5.  มีทัศนคติที่ดีต่อวิชาชีพเคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ 
2.  สอดแทรกหลักจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพในเนื้อหารายวิชา 3.  ปลูกฝังให้นักศึกษามีวินัยโดยเน้นการเข้าเรียนให้ตรงต่อเวลา การส่งงานภายในเวลาที่กำหนดตลอดจนการแต่งกาย ที่ถูกต้องตามระเบียบของมหาวิทยาลัย 4.  กำหนดงานเป็นกลุ่ม เน้นการเป็นผู้นำกลุ่มและการเป็นสมาชิกกลุ่ม เน้นความมี ส่วนร่วม และแสดงความคิดเห็น
3)  การส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที่มอบหมาย และการเข้าร่วมกิจกรรม 4)  การสังเกตพฤติกรรมในการทำงานเป็นกลุ่ม และความมีส่วนร่วมในการนำเสนอผลงาน
1.  มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการ ทฤษฎี และการปฏิบัติที่สำคัญในเนื้อหาของสาขาวิชาที่ศึกษาสามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องได้อย่างเหมาะสม และพัฒนาความรู้ ติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการได้อย่างต่อเนื่อง
2.  มีความรู้และความเข้าใจในสาระสำคัญของศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง ประยุกต์ใช้ความรู้ ทักษะ ในการวิเคราะห์ปัญหา เข้าใจและอธิบายความต้องการที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาที่ศึกษา รวมทั้งประยุกต์ความรู้ ทักษะ และสามารถเลือกใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับการแก้ปัญหาและการดำรงชีวิตประจำวัน
1.  จัดรูปแบบการเรียนการสอนที่หลากหลายโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญตามลักษณะ ของรายวิชา และเนื้อหาสาระของรายวิชานั้น ๆ  5.  ใช้การเรียนการสอนในหลากหลายรูปแบบโดยให้ความรู้ทางด้านทฤษฎีควบคู่กับการปฏิบัติในสภาพแวดล้อมจริง
1.  การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน 
7.  ประเมินผลการเรียนรู้ระหว่างภาค เช่น การบ้าน งานที่มอบหมาย รายงาน                     การทดสอบย่อย การนำเสนอรายงาน การค้นคว้า หน้าชั้นเรียน   
1.  สามารถสืบค้น ตีความ วิเคราะห์ข้อมูล และประเมินสารสนเทศ จากหลายแหล่ง เพื่อใช้ในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ ตามสถานการณ์แวดล้อมทางธุรกิจ และการตัดสินใจอย่างเหมาะสมด้วยตนเอง
3. คิดอย่างมีวิจารณญาณและเป็นระบบ สร้างสรรค์ และมีเหตุผล สามารถบูรณาการความรู้จากสาขาวิชาชีพที่ศึกษา และประสบการณ์เพื่อใช้ในการแก้ไขปัญหาทางธุรกิจและสถานการณ์ทั่วไป
6.  การสอนแบบเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ที่เปิดโอกาสให้นักศึกษามีส่วนร่วมในชั้นเรียน และมีการอภิปรายแสดงความคิดเห็น
6.  ประเมินจากการรายงานผลการศึกษาค้นคว้า โครงงาน โดยการนำเสนอหน้าชั้นเรียนและเอกสารรายงาน
1. มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมมีอย่างมีความรับผิดชอบ ยอมรับฟังและเคารพความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม และสามารถปรับตัวเชิงวิชาชีพได้
2. มีความสามารถในการประสานงาน การมอบหมายบทบามหน้าที่และความรับผิดชอบพร้อมทั้งให้ความช่วยเหลือและอำนวยความสะดวกต่อเพื่อนร่วมงาน ในการแก้ปัญหาสถานการณ์ต่างๆทั้งในบทบาทของผู้นำและในบทบาทของผู้ร่วมทีมทำงาน
2.  จัดให้นักศึกษาได้ทำกิจกรรมเป็นกลุ่ม โดยเปลี่ยนบทบาทให้มีโอกาสเป็นทั้งผู้นำและผู้ตาม 
พฤติกรรมการทำกิจกรรมกลุ่มของนักศึกษา
 
2. สามารถสื่อสารเพื่ออธิบาย และสร้างความสร้างความเข้าใจ โดยใช้รูปแบบของสื่อเทคนิควิธีการเครื่องมือสื่อสารและเทคโนโลยีอย่างถูกต้อง ทั้งในรูปแบบการเขียรายงานและการนำเสนอด้วยวาจาที่เหมาะสมอย่างมีประสิทธิภาพและสร้างสรรค์
3.  สามารถสื่อสารภาษาไทยและภาษาต่างประเทศที่จำเป็นต่อการทำธุรกิจได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1.  สอดแทรกความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเครื่องมือในการติดต่อสื่อสาร การค้นคว้าข้อมูล และการนำเสนอผลงานในเนื้อหาของรายวิชาที่เกี่ยวข้อง 2.  จัดกิจกรรมให้นักศึกษาใช้เครื่องมือเทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อแก้ไขปัญหาต่างๆ จากกรณีศึกษา 3.  จัดให้นักศึกษาได้ฝึกใช้ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศในการสื่อสารในสถานการณ์และวัฒนธรรมที่หลากหลาย
1.  การทดสอบย่อย กลางภาคและปลายภาค  3.  พฤติกรรม การนำเสนอผลงานหน้าชั้นเรียน และความสามารถในการใช้ภาษา  การสื่อสาร ของนักศึกษาเพื่อสื่อสาร
2. สามารถปฏิบัติงานโดยใช้องค์ความรู้และประสบการณ์ในศาสตร์ที่ศึกษามาใช้เป็นแนวทางในการดำเนินการงานเพื่อสนับสนุนการดำเนินการงานของธุรกิจ นำมาใช้แก้ไขปัญหา ค้นคว้าวิจัย ตลอดจนพัฒนาตนเอง ชุมชน และสังคมได้อย่างถูกต้อง
4. จัดให้นักศึกษาได้ฝึกประสบการณ์ในสถานประกอบการตามหลักบูรณาการการเรียนการสอนกับการทำงาน
5. จัดกิจกรรมให้นักศึกษาได้เข้าร่วมในการบริการวิชาการแก่สังคมร่วมกับอาจารย์และผู้เกี่ยวข้อง
4. การนำเสนอผลงาน หรือโครงงาน โดยเลือกใช้ภาษา การสื่อสารในบริบทต่างๆคิดวิเคราะห์ แก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.6 ทักษะการปฏิบัติงานในวิชาชีพได้อย่างมืออาชีพ 1.1 ผลการเรียนรู้ด้านทักษะคุณธรรมจริยธรรม 2.1 ผลการเรียนรู้ด้านความรู้ 3.1 ผลการเรียนรู้ด้านทักษะทางปัญญา 4.1 ผลการเรียนรู้ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา สามารถปฏิบัติงานโดยใช้องค์ความรู้และประสบการณ์ในศาสตร์ที่ศึกษามาใช้เป็นแนวทางในการดำเนินงานเพื่อสนับสนุนการดำเนินธุรกิจ นำมาใช้แก้ปัญหา ค้นคว้าวิจัย ตลอดจนพัฒนาตนเอง ชุมชน และสังคมได้อย่างถูกต้อง 2. มีความพอเพียงมีวินัย ขยัน อดทน เพียรพยายาม ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเอง วิชาชีพ สังคมส่วนรวม และสิ่งแวดล้อม มีความสำนึกรับผิดชอบต่อส่วนรวม และสิ่งแวดล้อม 5. มีทัศนคติที่ดีต่อวิชาชีพเคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ 3. สามารถสื่อสารภาษาไทยและภาษาต่างประเทศที่จำเป็นต่อการทำธุรกิจได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2. มีความรู้และความเข้าใจในสาระสำคัญของศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง ประยุกต์ใช้ความรู้ ทักษะ ในการวิเคราะห์ปัญหา เข้าใจและอธิบายความต้องการที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาที่ศึกษา รวมทั้งประยุกต์ความรู้ ทักษะ และสามารถเลือกใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับการแก้ปัญหาและการดำรงชีวิตประจำวัน 2. มีความรู้และความเข้าใจในสาระสำคัญของศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง ประยุกต์ใช้ความรู้ ทักษะ ในการวิเคราะห์ปัญหา เข้าใจและอธิบายความต้องการที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาที่ศึกษา รวมทั้งประยุกต์ความรู้ ทักษะ และสามารถเลือกใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับการแก้ปัญหาและการดำรงชีวิตประจำวัน 1. สามารถสืบค้น ตีความ วิเคราะห์ข้อมูล และประเมินสารสนเทศ จากหลายแหล่ง เพื่อใช้ในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ ตามสถานการณ์แวดล้อมทางธุรกิจ และการตัดสินใจอย่างเหมาะสมด้วยตนเอง 6. มีความรับผิดชอบในการกระทำของตนเองและรับผิดชอบงานในกลุ่ม
1 BBABA752 การแปลภาษาอังกฤษทางธุรกิจ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.1.1, 3.1.1 2.1.2 4.1.6 งานแปลที่มอบหมาย การทำแบบฝึกหัด การส่งงานที่มอบหมาย การทำแบบฝึก ตลอดภาคการศึกษา 30%
2 2.1.1 , 2.1.2 5.1.3 สอบ 9 20%
3 2.1.1, 2.1.2 5.1.3 สอบปลายภาค 16 20%
4 1.1.2 จิตพิสัย ตลอดภาคการศึกษา 10%.
5 2.1.1, 3.1.1 2.1.2 4.1.6 การทดสอบย่อย 3, 5, 7, 13,15 20%
จริยา ปนทวังกูร. (2551). การเขียนบทโฆษณา. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.  ทิพา เทพอัครพงศ์. (2549). การแปลเบื้องต้น (พิมพ์ครั้งที่ 5). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย  ปรียา อุนรัตน์. (2548). การแปลอังกฤษเป็นไทย แนวคิดและวิธีการ. กรุงเทพฯ: บริษัท สำนักพิมพ์ดวงกมล (2520) จำกัด.  นเรศ สุรสิทธิ์. (2562). ตีแตก Grammar. กรุงเทพฯ: บริษัท พี.เอส.เพรส.จำกัด  พิมพันธุ์ เวสสะโกศล. (2562). การแปลภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษ. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.  เลิศ เกสรคำ. (2560). ไวยากรณ์และเทคนิคภาษาอังกฤษ. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น, บจม.  วรัชญ์ ครุจิต. (2553). การแปลภาษาอังกฤษเพื่องานนิเทศศาสตร์. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยศรีปทุม.  วรนาถ วิมลเฉลา. (2529). คู่มือสอนแปล. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย  สถาพร ฉันท์ประสูตร. (2560). เคล็ดลับวิชาแปล. นนทบุรี: โรงพิมพ์ภาพพิมพ์.  สัญฉวี สายบัว. (2560). หลักการแปล (พิมพ์ครั้งที่ 9). กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.  สุพรรณี ปิ่นมณี. (2555). แปลได้ แปลดี : ทักษะการแปลสำหรับผู้เรียนในระดับมหาวิทยาลัย (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.  สุพรรณี ปิ่นมณี. (2561). แปลผิด แปลถูก: คัมภีร์การแปลยุคใหม่ (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์หาวิทยาลัย.  สุพรรณี ปิ่นมณี. (2562). ภาษา วัฒนธรรม กับการแปล: ไทย-อังกฤษ. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์หาวิทยาลัย.  สุมน อริยปิติพันธ์. (2548). หลักการแปลภาษาอังกฤษ. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.  อลัน ดัฟ. (2547). กิจกรรมการแปล: มิติใหม่การสอนภาษา. (จินดา ศรีรัตนสมบุญ, ผู้แปล). กรุงเทพฯ: หน้าต่างสู่โลกกว้าง.    
จิรัชชยา บุญประสงค์, และรสสุคนธ์ สงคง. (2560). ข้อผิดพลาดที่พบในป้ายที่แปลจากภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษในกรุงเทพมหานครและชลบุรี. การประชุมวิชากาารระดับชาติ “นวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อคุณภาพชีวิตและสังคมที่ยั่งยืน” ครั้งที่5 (น.584) สกลนคร: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์  สุรเดช บุณยวณิชย์. (2546). การวิเคราะห์ปัญหาทางโครงสร้างของภาษาอังกฤษบางประเด็นในการแปลภาษาไทยเป็นอังกฤษของนิสิตปริญญาตรีชั้นปีที่ 3 มหาวิทยาลัยบูรพา.กรุงเทพมหานคร: ฐานข้อมูลวิทยานิพนธ์ไทย.  อัจฉรา ไล่ศัตรูไกล. (2555). จุดมุ่งหมาย หลักการและวิธีแปล. ใน เอกสารประกอบการสอน รายวิชา EN 322 กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง.  Cotton, Falvey and Kent. (2016). Market leader. Elementary Business English. (3rd edition) Extra Course book…..Pearson Education Limited.  Larson, M. L. (1998). Meaning-based translation: A guide to cross-language equivalence (2nd edition). Boston: University Press of America.  Martin Hewings. (2015). Advanced Grammar in Use. (3rd edition). Cambridge: Cambridge University Press.  Michael McCarthy et al. (2009). Grammar for Business. Cambridge: Cambridge University Press.  Newmark Peter. (1995). A textbook of Translation. London: Phoenix ELT.  Raymond Murphy. (2012). Essential Grammar in Use. Cambridge: Cambridge University Press.  Micheal Swan. (2016). Practical English Usage. (4rd edition). Oxford: Oxford University Press  Oxford University. (2010). Oxford advanced learner’s dictionary: international student’s edition. 8th ed. New Delhi, India: Oxford university press. 
 
http:// www.royin.go.th/ http://www.seventranslation.com/ http://www.wikipedia.com/ หนึ่งฤทัย ลาที. (2556). การวิเคราะห์การแปลภาษาอังกฤษเป็นภาษาไทยจากหนังสือเรื่องแอตแลนติก มหาสมุทรข้ามกาลเวลา. สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ รูฮายาตี อารง, ซูรัยยา อับดุลรอเซะ, วารุณี ซาเม๊าะ, อารีฟะฮ์ เจะดาโอะ, ฮาสมะ เต๊ะ, และฟารีดา กิตติวิโรจน์. (2561). การวิเคราะห์เทคนิคและข้อผิดพลาดจากการแปลภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษ: กรณีป้ายกรมทางหลวงและป้ายสถานที่สำคัญต่างๆในเขตอำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส . นราธิวาส:มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์. สมจิต จิระนันทิพรและปรีมา มัลลิกะมาส. (2559). ปัญหาการแปลหน่วยสร้างกริยาเรียงภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษของผู้เรียนชาวไทย. วารสารอักษรศาสตร์, 45 (2), 205-262. 
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้ 
1.1  การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน  1.2  แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา  1.3  ข้อเสนอแนะผ่านสื่อสังคมออนไลน์กลุ่ม ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้  2.1   การสังเกตการณ์ระหว่างการสอนของผู้สอน  2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา  2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้  3.1   จัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เป็นประโยชน์แก่สังคม ชุมชน สถานประกอบการ  3.2   การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้                  4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา 
 
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้  5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4  5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ