การจัดการโมเดลทางธุรกิจในยุคดิจิทัล

Business Model Management in the Digital Era

1) เข้าใจแนวคิดเกี่ยวกับโมเดลธุรกิจ การสร้างโมเดลธุรกิจ การพัฒนาโมเดลธุรกิจ
2) รู้จักความหมายของโมเดลธุรกิจดิจิทัล โมเดลธุรกิจดิจิทัลแบบไฮบริด นวัตกรรมโมเดลธุรกิจดิจิทัล
3) สามารถศึกษากรณีศึกษาที่เกี่ยวข้องกับโมเดลธุรกิจในปัจจุบันที่น่าสนใจ
เพื่อให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์รายวิชาในหมวดวิชาเฉพาะ กลุ่มวิชาชีพ ตามที่มหาวิทยาลัยกำหนดและสอดคล้องกับประกาศของกระทรวงศึกษาธิการเรื่องกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2552  ตามที่มหาวิทยาลัยกำหนดโดยเน้นให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจทางกลยุทธ์การตลาดเพื่อเป็นพื้นฐานการเรียนในวิชาอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องและนำไปประยุกต์ใช้ในการประกอบอาชีพหรือการทำงานได้
แนวคิดเกี่ยวกับโมเดลธุรกิจ การสร้างโมเดลธุรกิจ การพัฒนาโมเดลธุรกิจ ความหมายของโมเดลธุรกิจดิจิทัล โมเดลธุรกิจดิจิทัลแบบไฮบริด นวัตกรรมโมเดลธุรกิจดิจิทัล กรณีศึกษาที่เกี่ยวข้องกับโมเดลธุรกิจในปัจจุบันที่น่าสนใจ
- ชั่วโมงการสอน 3ชั่วโมงต่อสัปดาห์   - อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือ รายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ - อาจารย์ประจำรายวิชา ประกาศเวลาและการให้คำปรึกษาตลอดภาคการศึกษาที่เรียน
.1 คุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา
1.1. ผลการเรียนรู้ด้านคุณธรรม จริยธรรม                   1.1.1) มีความรู้และความเข้าใจในคุณค่าแห่งวิชาชีพ จรรยาบรรณวิชาชีพ มีทัศนคติที่ดีต่อ วิชาชีพ                    1.1.2) มีความซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย เคารพและสามารถปฏิบัติตามกฎระเบียบของสถาบัน และสังคม                    1.1.3) สังเกต การควบคุมอารมณ์ การรับฟังความคิดเห็น และการทำงานร่วมกับผู้อื่น                    1.1.4) มีจิตสำนึก และพฤติกรรมที่คำนึงถึงประโยชน์ส่วนรวมมากกว่าประโยชน์ส่วนตนอย่างมีคุณธรรม
.2.1  สอดแทรกความรู้และความเข้าใจในคุณค่าแห่งวิชาชีพ จรรยาบรรณวิชาชีพ และทัศนคติที่ดีต่อวิชาชีพ พร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษาที่เกี่ยวข้องกับคุณธรรมจริยธรรม                     1.2.2 กำหนดกฎกติการ่วมกับนักศึกษาในชั้นเรียนร่วมกันและมีมาตรการในการดำเนินการกับผู้ผิดกติกา                    1.2.3 การให้คำปรึกษารายบุคคล  
.3.1) สังเกตจากพฤติกรรมของผู้เรียนในระหว่างการเรียนการสอน                    1.3.2) ประเมินผลจากความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมาย                    1.3.3) สังเกตพฤติกรรมการเข้าชั้นเรียนและการร่วมกิจกรรม                    1.3.4) สังเกตการณ์มีมนุษยสัมพันธ์ และการทำงานกลุ่ม
2.1.1) มีความรู้ ความเข้าใจ ในแนวคิด ทฤษฎี หลักการ และวิธีการทางด้านวิชาชีพ                    2.1.2) มีความรู้ ความเข้าใจในองค์ความรู้ทางสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องสามารถบูรณาการ ประสมประสานและนำมาประยุกต์ใช้ได้อย่างเหมาะสม                    2.1.3) มีความรู้เกี่ยวกับเทคนิคการปฏิบัติงานด้านวิชาชีพและอื่นๆ โดยใช้วิธีการเรียนรู้จากประสบการณ์                    2.1.4) สามารถติดตามการเปลี่ยนแปลงทางวิชาการ การวิจัย และวิชาชีพ ทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง
2.2.1)  บรรยาย  อภิปราย มอบหมายงานให้ค้นคว้าทั้งงานกลุ่มและงานเดี่ยว  การวิเคราะห์กรณีศึกษารวมถึงการแสดงความคิดเห็นและซักถามข้อสงสัย           
2.3.1)  การทดสอบย่อย   สอบกลางภาค  สอบปลายภาค  การวิเคราะห์ผลกรณีศึกษากลุ่ม การนำเสนอรายงานกลุ่มและเดี่ยวตลอดจนเนื้อหาความถูกต้องของเอกสารผลงานที่มอบหมาย 
3.1 ทักษะทางปัญญา ที่ต้องพัฒนา
.1  ทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา                   3.1.1) สามารถสืบค้นข้อมูล ประมวลข้อมูล และแนวคิดต่างๆ เพื่อนำมาใช้ในการระบุและวิเคราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสม                   3.1.2) สามารถประยุกต์และบูรณาการความรู้และด้านอื่นที่สัมพันธ์กันใช้ทักษะทางวิชาชีพและดุลยพินิจในการแก้ไขปัญหารวมทั้งเสนอแนะแนวทางใหม่ในสถานการณ์ต่างๆอย่างสร้างสรรค์ โดยคำนึงผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากการตัดสินใจ                   3.1.3) สามารถติดตาม ประเมินผลสรุปประเด็นและรายงานผลได้อย่างถูกต้อง ครบถ้วน
3.2.1) มอบหมายงานการศึกษา ค้นคว้า รายงาน กรณีศึกษา และทำการวิเคราะห์ อภิปรายเพื่อเสนอความคิดเห็นร่วมกัน
3.3.1) ประเมินผลจากงานที่ได้รับมอบหมายทั้งงานกลุ่มและงานเดี่ยวที่เกี่ยวข้องกับการตลาดระหว่างประเทศ การวิเคราะห์กรณีศึกษา การมีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียนและในการนำเสนอผลงานที่ได้รับมอบหมาย   
4.1.1 )สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายอย่างมีประสิทธิภาพ                     4.1.2 )มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นและปรับตัวให้เข้ากับสถานการณ์และวัฒนธรรมขององค์กรได้เป็นอย่างดี                                                            4.1.3 ) มีความคิดริเริ่ม สร้างสรรค์ สามารถให้ความช่วยเหลือและอำนวยความสะดวกในการแก้ไขปัญหาในสถานการณ์ต่างๆ ทั้งในบทบาทของผู้นำหรือในบทบาทของผู้ร่วมงาน                                       4.1.4 ) มีความรับผิดชอบในการพัฒนาความรู้ความสามารถทั้งด้านวิชาการและวิชาชีพของตนเองอย่างต่อเนื่อง
4.2.1) มอบหมายงาน รายบุคคลและงานกลุ่ม ให้ศึกษาค้นคว้าเน้นงานที่ต้องมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างบุคคล เช่น การระดมความคิดเห็น การอภิปราย หรือการสัมมนาเกี่ยวกับประเด็นที่นักศึกษาสนใจ ตลอดจนสอดแทรกเรื่องความรับผิดชอบต่อตนเองและองค์การ
4.3.1)  ประเมินจากผลงานที่ได้รับมอบหมาย และสังเกตพฤติกรรมการแสดงออกของผู้เรียนขณะทำกิจกรรมกลุ่มและงานที่ต้องมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างบุคคล 
5.1.1) มีทักษะการใช้วิธีวิเคราะห์เชิงปริมาณเพื่อการตัดสินใจอย่างสร้างสรรค์ และเสนอแนะแนวทางในการแก้ไขปัญหาหรือข้อโต้แย้ง                    5.1.2)  สามารถสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพทั้งการพูดและการเขียน รู้จักเลือกและใช้รูปแบบการนำเสนอที่เหมาะสม                    5.1.3 ) สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและเทคนิคการสื่อสารที่เหมาะสมในการเก็บรวบรวมข้อมูล การแปลความหมาย และการสื่อสารสารสนเทศ
5.2.1) ไม่มี                                5.2.2)  ไม่มี                    5.2.3)  มอบหมายงานที่เน้นให้นักศึกษาค้นคว้าข้อมูลโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่ทันสมัย
 5.3.1) ไม่มี                    5.3.2 )ไม่มี                    5.3.3 )ประเมินจากวิธีการนำเสนอผลงานที่ได้รับมอบหมายทั้งการนำเสนอหน้าชั้นเรียนและรูปเล่มผลงานที่จัดเก็บด้วยการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสม
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 คุณธรรม จริยธรรม พฤติกรรมการเข้าชั้นเรียน 1-15 10%
2 ความรู้ สอบกลางภาค สอบปลายภาค กรณีศึกษา การศึกษาดูงาน 3,7,11,13,16 25 % 25% 20%
3 กักษะทางปัญญา วิเคราะห์กรณีศึกษา การนำเสนอรายงานกลุ่ม 9-12 13-17 10% 10%
4 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่าง บุคคลและความรับผิดชอบ สังเกตพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม สังเกตจากงานที่มอบหมาย 2-16 รวมอยู่ใน 3
5 ทักษะวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อ การค้นคว้าข้อมูล ความสมบูรณ์ ของผลงานที่มอบหมาย 11-16 รวมอยู่ใน กิจกรรมที่ 3
เอกสารประกอบการสอนรวบรวมโดย อ.พันทิพา  ปัญสุวรรณ
Business Model Generation: A Handbook for Visionaries, Game Changers, and Challengers หนังสือโดย อีฟส์ พิกเนียร์ และอเล็กซานเดอร์ ออสเทอร์วัลเดอร์
Business Model Generation: A Handbook for Visionaries, Game Changers, and Challengers
หนังสือโดย อีฟส์ พิกเนียร์ และอเล็กซานเดอร์ ออสเทอร์วัลเดอร์
คู่มือการจัดทำแผนธุรกิจเพื่อชุมชน                              สถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน(องค์การมหาชน) กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย
การประเมินประสิทธิผลในรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้             - การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน             - การสังเกตการณ์จากพฤติกรรมของผู้เรียน         - แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา   
 
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้             - การสังเกตการณ์การสอนของผู้ร่วมทีมการสอน             - ผลการสอบ             - การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
 
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้             - สัมมนาการจัดการเรียนการสอน             - การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
 ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้             - การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร             - มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้             - ทบทวนและปรับปรุงลำดับเนื้อหาการสอน วิธีการสอน การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน มาตรฐานข้อสอบให้ทันสมัยอยู่เสมอ             - ปรับปรุงรายวิชาตามข้อเสนอแนะและผลทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4