ออกแบบแสงสว่าง
Lighting Design
1.1 เพื่อศึกษาระบบการให้แสงสว่างในอาคารประเภทต่างๆ
1.2 เพื่อศึกษาลักษณะธรรมชาติของแหล่งกำเนิดแสง ทิศทางของแสง
1.3 เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจหลักการออกแบบและการวางระบบผังไฟฟ้า โดยคำนึงถึงประโยชน์ใช้สอย ความงามและความสัมพันธ์ระหว่างแสงและสี
1.2 เพื่อศึกษาลักษณะธรรมชาติของแหล่งกำเนิดแสง ทิศทางของแสง
1.3 เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจหลักการออกแบบและการวางระบบผังไฟฟ้า โดยคำนึงถึงประโยชน์ใช้สอย ความงามและความสัมพันธ์ระหว่างแสงและสี
เพื่อให้เกิดความทันสมัยเกี่ยวกับเนื้อหาวิชา และให้นักศึกษาสามารถค้นคว้าหาข้อมูลด้วยตัวเอง ได้อย่างกว้างขวาง
ศึกษาหลักการ แนวคิดและฝึกปฎิบัติการออกแบบแสงสว่าง ระบบการให้แสงสว่างภายในอาคารประเภทต่างๆ โดยคำนึงถึงประโยชน์ใช้สอย ความงาม และความสัมพันธ์ระหว่างแสงกับสี
- อาจารย์ประจำรายวิชาประกาศเวลาให้คำปรึกษาในชั้นเรียน
- อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล ต่อนักศึกษาสัปดาห์ละ 2ชั่วโมง /สัปดาห์
1.1.1 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเองสังคมและสิ่งแวดล้อม
1.2.1 บรรยาย ให้นักศึกษาค้นคว้าข้อมูล นำเสนอแนวทาง การออกแบบและการตระหนักถึงการประหยัดพลังงาน ในการใช้ให้เหมาะสม 1.2.2 ฝึกปฏิบัติการทำงานเป็นกลุ่ม
1.3.1 พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา 1.3.2 การสอบวัดประเมินผลและการประเมินจากผลงานการบ้าน
2.1.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎี และหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา 2.1.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา 2.1.3 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง
2.2.1 บรรยายพร้อมอภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็น 2.2.2 ให้ค้นคว้าข้อมูลเพิ่มเติมเพื่อนำเสนอ 2.2.3 ให้ทดลองทำการออกแบบแสงสว่าง
2.3.1 การนำเสนอผลงาน การสอบกลางภาค และปลายภาค 2.3.2 ผลงาน การบ้าน และรายงาน 2.3.3 ประเมินความรู้จากผลงานการออกแบบของนักศึกษา
3.1.1 มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
3.2.1 บรรยายโดยเน้นการสร้างความเข้าใจ และกระตุ้นให้นักศึกษาร่วมคิดวิเคราะห์
3.2.2 อภิปรายเพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและพัฒนาปัญญา
3.2.3 มอบหมายงานที่ต้องค้นคว้าและวิเคราะห์ร่วมกัน
3.2.2 อภิปรายเพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและพัฒนาปัญญา
3.2.3 มอบหมายงานที่ต้องค้นคว้าและวิเคราะห์ร่วมกัน
3.3.1 ประเมินด้วยการนำเสนอผลงาน สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี
3.3.2 วัดจากพฤติกรรมในชั้นเรียน
3.3.3 วัดจากผลงานที่ได้รับมอบหมาย
3.3.4สังเกตวิธีการคิดการแก้ไขปัญหา
3.3.2 วัดจากพฤติกรรมในชั้นเรียน
3.3.3 วัดจากผลงานที่ได้รับมอบหมาย
3.3.4สังเกตวิธีการคิดการแก้ไขปัญหา
4.1.1 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.1.2 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4.1.3 สามารถนำความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
4.1.2 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4.1.3 สามารถนำความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
4.2.1 บรรยายพร้อมมอบหมายงานให้ค้นคว้า
4.2.2 นักศึกษาฟังบรรยายเรียนรู้และทำงานส่ง
4.2.3 นักศึกษาอภิปรายผล นำเสนอผลงานการศึกษา การสอบกลางภาคและปลายภาค
4.2.2 นักศึกษาฟังบรรยายเรียนรู้และทำงานส่ง
4.2.3 นักศึกษาอภิปรายผล นำเสนอผลงานการศึกษา การสอบกลางภาคและปลายภาค
4.3.1 ประเมินด้วยการนำเสนอผลงาน สอบกลางภาค สอบปลาย
4.3.2 ประเมินผลงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขต
4.3.3 ประเมินการมีส่วนร่วมในชั้นเรียน
4.3.4 การนำเสนอผลงานจากการวิเคราะห์แสดงผล
4.3.2 ประเมินผลงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขต
4.3.3 ประเมินการมีส่วนร่วมในชั้นเรียน
4.3.4 การนำเสนอผลงานจากการวิเคราะห์แสดงผล
5.1.1 สามารถสืบค้นวิเคราะห์และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
5.2.1 บรรยายพร้อมวิธีการวิเคราะห์ข้อมูล
5.2.2 มอบหมายงานให้นักศึกษาค้นคว้านอกห้องเรียน
5.2.3 มอบหมายงานให้ศึกษานำเสนอผลงานในรูปแบบสื่อคอมพิวเตอร์
5.2.2 มอบหมายงานให้นักศึกษาค้นคว้านอกห้องเรียน
5.2.3 มอบหมายงานให้ศึกษานำเสนอผลงานในรูปแบบสื่อคอมพิวเตอร์
5.3.1 ประเมินด้วยการนำเสนอผลงาน สอบกลางภาค สอบปลาย
5.3.2 ประเมินผลงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขต
5.3.3 ประเมินการมีส่วนร่วมในชั้นเรียน
5.3.2 ประเมินผลงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขต
5.3.3 ประเมินการมีส่วนร่วมในชั้นเรียน
-มีทักษะในการทำตามแบบและปฏิบัติงานได้ตามข้อแนะนำ
-มีทักษะในการหาแนวทางปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง
-มีทักษะในการปฏิบัติงานสร้างสรรค์ผลงาน
-ใช้วิธีการสอน ด้วยวิธีคัดลอกแบบ ทำตามแบบและใบงาน การใช้กรณีศึกษาโครงงานและศิลปนิพนธ์สร้างสรรค์ผลงานตามแนวทางของการปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง
-ประเมินตามสภาพจริงโดยประเมินจากการปฏิบัติงานและผลงาน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา | 1.ด้านคุณธรรม จริยธรรม | 2.ด้านความรู้ | 3.ด้านทักษะทางปัญญา | 4.ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ | 5.ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ | 6. ทักษะพิสัย | ||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ลำดับ | รหัสวิชา | ชื่อวิชา | 1 | 2 | 3 | 1 | 2 | 3 | 1 | 2 | 1 | 2 | 3 | 4 | 1 | 2 | 3 | 1 | 2 | 3 |
1 | BARIA502 | ออกแบบแสงสว่าง |
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล |
---|---|---|---|---|
1 | 1.3.1 1.3.2 1.3.4 | การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน | ตลอดภาคการศึกษา | 10% |
2 | 2.3.1 3.3.1 4.3.1 5.3.1 5.3.2 5.3.3 | สอบย่อย การส่งงานตามที่มอบหมายการบ้าน สอบกลางภาค สอบปลายภาค | ตลอดภาคการศึกษา สัปดาห์ที่ 9 สัปดาห์ที่ 18 | 10% 20% 20% |
3 | 3.3.1 3.3.2 4.3.3 4.3.4 4.3.5 5.3.1 5.3.2 5.3.3 | วิเคราะห์กรณีศึกษาค้นคว้า การนำเสนอ รายงาน การมีส่วนร่วม อภิปราย การนำเสนองานกลุ่ม การส่งงานตามที่มอบหมาย | ตลอดภาคการศึกษา สัปดาห์ที่ 15 สัปดาห์ที่ 16 | 40% |
Bentley Meeker. 2011.
Light x Design: 20 Years of Lighting ______________. 2011.
The Structure of Light: Richard Kelly and the Illumination of Modern Architecture (Yale University School of Architecture). Yale University Press. Lighting: A Design Source Book. Elizabeth Wilhide. Lighting: Creative Planning for Successful Lighting Solutions Editors of Creative Publishing. 2003.
Lighting Design & Installation. Creative Publishing. Gary Gordon. 2003.
Interior Lighting, Fourth Edition. John Wiley & son, Inc. Lucy Martin. 2010. The Lighting Bible. Singapore: Pageone.
Light x Design: 20 Years of Lighting ______________. 2011.
The Structure of Light: Richard Kelly and the Illumination of Modern Architecture (Yale University School of Architecture). Yale University Press. Lighting: A Design Source Book. Elizabeth Wilhide. Lighting: Creative Planning for Successful Lighting Solutions Editors of Creative Publishing. 2003.
Lighting Design & Installation. Creative Publishing. Gary Gordon. 2003.
Interior Lighting, Fourth Edition. John Wiley & son, Inc. Lucy Martin. 2010. The Lighting Bible. Singapore: Pageone.
เอกสารประกอบการสอนและ Power Point
ค้นคว้าข้อมูลจาก Googleเว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา เช่น Wikipedia คำอธิบายศัพท์ http://www.proudgreenhome.com/research/511/Lighting?gclid=CKS3gLbZgKgCFQZ66wodQhf1pA http://iotcomm.com/
คู่มือแนวทางการออกแบบการส่องสว่างภายในอาคาร
470409_1c1dd80275e0445d91af87dccd0bd253.pdf (tieathai.org)
คู่มือแนวทางการออกแบบการส่องสว่างภายในอาคาร
470409_1c1dd80275e0445d91af87dccd0bd253.pdf (tieathai.org)
1.1 การทดสอบความรู้ การนำเสนอผลงาน
2.1 การสังเกตการณ์ผลงานการบ้านนักศึกษา
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
3.1 การมุ่งเน้นให้นักศึกษาทำความเข้าใจกับเกี่ยวกับเรื่องบรรยากาศของแสงสว่าง
3.2 การมุ่งเน้นให้นักศึกษาเข้าใจลักษณะของการใช้และการติดตั้งของดวงโคมแต่ละประเภท จนนำไปสู่การเข้าใจตำแหน่งแปลนไฟให้มีความน่าสนใจและเหมาะสมกับพื้นที่การใช้งานในแต่ละกิจกรรม
3.3 เชิญวิทยากรผู้เชี่ยวชาญ มาบรรยายให้เกิดองค์ความรู้เพิ่มเติม
3.4 ศึกษาและทำความเข้าใจการออกแบบแสงส่วางจากสถานที่จริง
3.2 การมุ่งเน้นให้นักศึกษาเข้าใจลักษณะของการใช้และการติดตั้งของดวงโคมแต่ละประเภท จนนำไปสู่การเข้าใจตำแหน่งแปลนไฟให้มีความน่าสนใจและเหมาะสมกับพื้นที่การใช้งานในแต่ละกิจกรรม
3.3 เชิญวิทยากรผู้เชี่ยวชาญ มาบรรยายให้เกิดองค์ความรู้เพิ่มเติม
3.4 ศึกษาและทำความเข้าใจการออกแบบแสงส่วางจากสถานที่จริง
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 5 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 ปรับเปลี่ยนวิธีการวัดผล แม้เป็นวิชาทฤษฏี นักศึกษาเน้นการปฏิบัติงานจริง ถนัดการเรียนรู้จากการทำงาน จึงเน้นการประเมินผลที่รายงาน และผลงานที่ได้รับมอบหมายให้มีความเข้าใจมากขึ้น
5.2 ปรับเปลี่ยนวิธีการวัดผล แม้เป็นวิชาทฤษฏี นักศึกษาเน้นการปฏิบัติงานจริง ถนัดการเรียนรู้จากการทำงาน จึงเน้นการประเมินผลที่รายงาน และผลงานที่ได้รับมอบหมายให้มีความเข้าใจมากขึ้น