การเงินธุรกิจสมัยใหม่
Modern Business Finance
1. เพื่อให้ทราบความหมายของการเงินธุรกิจและเป้าหมายของการจัดการทางการเงินธุรกิจ
2. เพื่อให้ทราบเทคนิคในการวิเคราะห์งบการเงิน และการวางแผนทางการเงิน
3. เพื่อให้เข้าใจมูลค่าเงินตามเวลาและงบจ่ายลงทุน
4. เพื่อให้เข้าใจวิธีการจัดหาเงินทุนของธุรกิจต้นทุนของเงินทุนและโครงสร้างทางการเงิน
5. เพื่อให้ทราบความสำคัญของเทคโนโลยีการเงินสำหรับธุรกิจ และสกุลเงินดิจิทัล
6. เพื่อให้เข้าใจธุรกรรมการเงินในยุคดิจิทัล และจรรยาบรรณของนักวางแผนการเงินทางธุรกิจ
2. เพื่อให้ทราบเทคนิคในการวิเคราะห์งบการเงิน และการวางแผนทางการเงิน
3. เพื่อให้เข้าใจมูลค่าเงินตามเวลาและงบจ่ายลงทุน
4. เพื่อให้เข้าใจวิธีการจัดหาเงินทุนของธุรกิจต้นทุนของเงินทุนและโครงสร้างทางการเงิน
5. เพื่อให้ทราบความสำคัญของเทคโนโลยีการเงินสำหรับธุรกิจ และสกุลเงินดิจิทัล
6. เพื่อให้เข้าใจธุรกรรมการเงินในยุคดิจิทัล และจรรยาบรรณของนักวางแผนการเงินทางธุรกิจ
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจการจัดการทางการเงินของธุรกิจสมัยใหม่ เพื่อนำข้อมูลไปใช้ในการจัดการทางการเงินของธุรกิจได้อย่างมีประสิทธิภาพ เหมาะสมกับยุคสมัย สร้างความได้เปรียบทางการแข่งขันของธุรกิจในอนาคตได้
ความหมายของการเงินธุรกิจ หน้าที่ เป้าหมาย และความสำคัญของการเงินธุรกิจ การวางแผนทางการเงิน การวิเคราะห์งบการเงิน มูลค่าเงินตามเวลา งบจ่ายลงทุน ต้นทุนเงินทุน โครงสร้างทางการเงิน ที่มาและความสำคัญของเทคโนโลยีการเงินสำหรับธุรกิจ สกุลเงินดิจิทัล แหล่งเงินทุน ธุรกรรมการเงินในยุคดิจิทัล จรรยาบรรณของนักวางแผนการเงินทางธุรกิจ
1.อาจารย์ประจำรายวิชาประกาศเวลาให้คำปรึกษา
2.อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคลหรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
2.อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคลหรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
(1) มีความรู้ความเข้าใจในหลักจริยธรรม คุณธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพทางธุรกิจ มีจิตสำนึกสาธารณะ ตระหนักในคุณค่าของคุณธรรมจริยธรรมเสียสละ ไม่เอารัดเอาเปรียบ ซื่อสัตย์สุจริตต่อตนเองและผู้อื่น
(2) มีความพอเพียง มีวินัย ขยัน อดทน เพียรพยายาม ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเอง วิชาชีพ สังคมส่วนรวมและสิ่งแวดล้อม มีความสำนึกรับผิดชอบต่อส่วนรวมและสิ่งแวดล้อม
(3) มีความเคารพต่อกฎระเบียบ และข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม
(2) มีความพอเพียง มีวินัย ขยัน อดทน เพียรพยายาม ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเอง วิชาชีพ สังคมส่วนรวมและสิ่งแวดล้อม มีความสำนึกรับผิดชอบต่อส่วนรวมและสิ่งแวดล้อม
(3) มีความเคารพต่อกฎระเบียบ และข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม
ปลูกฝังให้นักศึกษามีวินัยโดยเน้นการเข้าเรียนให้ตรงต่อเวลา การส่งงานภายในเวลาที่กำหนดตลอดจนการแต่งกาย ที่ถูกต้องตามระเบียบของมหาวิทยาลัย
1. การเข้าเรียนให้ตรงต่อเวลา ตลอดจนการแต่งกาย ที่ถูกต้องตามระเบียบของมหาวิทยาลัย
2. การส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที่มอบหมาย และการเข้าร่วมกิจกรรม
(1) มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการ ทฤษฎี และการปฏิบัติที่สำคัญในเนื้อหาของสาขาวิชาที่ศึกษา สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องได้อย่างเหมาะสม และพัฒนาความรู้ ติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการได้อย่างต่อเนื่อง
(2) มีความรู้และความเข้าใจในสาระสำคัญของศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง ประยุกต์ใช้ความรู้ ทักษะ ในการวิเคราะห์ปัญหา เข้าใจและอธิบายความต้องการที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาที่ศึกษา รวมทั้งประยุกต์ความรู้ ทักษะและสามารถเลือกใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับการแก้ปัญหาและการดำรงชีวิตประจำวัน
(2) มีความรู้และความเข้าใจในสาระสำคัญของศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง ประยุกต์ใช้ความรู้ ทักษะ ในการวิเคราะห์ปัญหา เข้าใจและอธิบายความต้องการที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาที่ศึกษา รวมทั้งประยุกต์ความรู้ ทักษะและสามารถเลือกใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับการแก้ปัญหาและการดำรงชีวิตประจำวัน
1. จัดรูปแบบการเรียนการสอนที่หลากหลายโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญตามลักษณะ ของรายวิชา และเนื้อหาสาระของรายวิชานั้น ๆ
2. จัดให้มีการเรียนรู้จากสถานการณ์จริงโดยมอบหมายให้ทำรายงาน โครงงานและนำเสนอหน้าชั้นเรียน
2. จัดให้มีการเรียนรู้จากสถานการณ์จริงโดยมอบหมายให้ทำรายงาน โครงงานและนำเสนอหน้าชั้นเรียน
1. การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน
2. ประเมินผลการเรียนรู้ระหว่างภาค เช่น การบ้าน งานที่มอบหมาย รายงาน การทดสอบย่อย การนำเสนอรายงาน การค้นคว้า หน้าชั้นเรียน แก้ไข
(1) สามารถสืบค้น ตีความ วิเคราะห์ข้อมูล และประเมินสารสนเทศ จากหลายแหล่งเพื่อใช้ในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ ตามสถานการณ์แวดล้อมทางธุรกิจ และการตัดสินใจอย่างเหมาะสมด้วยตนเอง
(2) สามารถคิดค้นทางเลือก วิเคราะห์ทางเลือกและผลกระทบจากทางเลือกอย่างรอบด้านมีความสามารถในการตัดสินใจเลือกทางเลือกที่สอดคล้องกับสถานการณ์ ทำให้เกิดการได้เปรียบทางการแข่งขันทางธุรกิจ
(2) สามารถคิดค้นทางเลือก วิเคราะห์ทางเลือกและผลกระทบจากทางเลือกอย่างรอบด้านมีความสามารถในการตัดสินใจเลือกทางเลือกที่สอดคล้องกับสถานการณ์ ทำให้เกิดการได้เปรียบทางการแข่งขันทางธุรกิจ
การศึกษาค้นคว้า และรายงานทางเอกสาร และรายงานหน้าชั้นเรียน
ประเมินจากการรายงานผลการศึกษาค้นคว้า โครงงาน โดยการนำเสนอหน้าชั้นเรียนและเอกสารรายงาน
(1) มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมอย่างมีความรับผิดชอบ ยอมรับฟัง และเคารพความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม และสามารถปรับตัวเชิงวิชาชีพได้
(2) มีความสามารถในการแสดงความคิดริเริ่ม แสดงความคิดเห็นต่าง และแสดงความคิดเห็นใหม่ ๆ ได้อย่างสร้างสรรค์ เอื้อต่อการแก้ไขปัญหาของทีมสามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม และพร้อมพัฒนาการเรียนรู้ของตนเองอย่างต่อเนื่อง
(2) มีความสามารถในการแสดงความคิดริเริ่ม แสดงความคิดเห็นต่าง และแสดงความคิดเห็นใหม่ ๆ ได้อย่างสร้างสรรค์ เอื้อต่อการแก้ไขปัญหาของทีมสามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม และพร้อมพัฒนาการเรียนรู้ของตนเองอย่างต่อเนื่อง
มีการมอบหมายงานที่ต้องใช้การระดมความคิดและร่วมกันทำงาน ให้ความสำคัญในการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบและการให้ความร่วมมือ
พฤติกรรมการทำกิจกรรมกลุ่มของนักศึกษา
(1) สามารถประยุกต์ใช้หลักคณิตศาสตร์ สถิติ การวิเคราะห์เชิงปริมาณ มาใช้ในการวิเคราะห์และตัดสินใจทางธุรกิจ และชีวิตประจำวัน
(3) สามารถสื่อสารภาษาไทยและภาษาต่างประเทศที่จำเป็นต่อการทำธุรกิจได้อย่างมีประสิทธิภาพ
(3) สามารถสื่อสารภาษาไทยและภาษาต่างประเทศที่จำเป็นต่อการทำธุรกิจได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ให้นักศึกษาได้เรียนรู้เทคนิคการประยุกต์ การวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อการตัดสินใจในสถานการณ์ต่าง ๆ บนฐานข้อมูลและข้อมูลเชิงตัวเลข ได้
การทดสอบย่อย กลางภาคและปลายภาค
(1) สามารถปฏิบัติงานโดยนำองค์ความรู้มาบูรณาการร่วมกับศาสตร์ที่ศึกษาได้อย่างเหมาะสม
จัดกิจกรรมเกี่ยวกับการสร้างความเข้าใจในกระบวนการบริหารธุรกิจ ด้านการวางแผน การจัดโครงสร้างองค์การ การปฏิบัติการ การควบคุมและการผลการดำเนินงาน รวมทั้งการปรับปรุงแผนงานให้สอดคล้องกับสถานการณ์
การนำเสนอผลงาน หรือโครงงาน โดยการเลือกใช้ภาษา การสื่อสารในบริบทต่าง ๆเพื่อคิดวิเคราะห์ แก้ไขปัญหา อย่างเหมาะสม
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา | 1.ด้านคุณธรรมจริยธรรม | 2.ด้านความรู้ | 3.ด้านทักษะทางปัญญา | 4.ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ | 5.ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ | 6.ทักษะการปฏิบัติงานในวิชาชีพ ได้อย่างมืออาชีพ | ||||||||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ลำดับ | รหัสวิชา | ชื่อวิชา | 1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 1 | 2 | 3 | 4 | 1 | 2 | 3 | 4 | 1 | 2 | 3 | 1 | 2 | 3 | 4 | 1 | 2 | 3 | 4 |
1 | BBACC117 | การเงินธุรกิจสมัยใหม่ |
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล |
---|---|---|---|---|
1 | 2.1.1 2.1.2 5.1.1 5.1.3 | สอบกลางภาค | 8 | 30% |
2 | 2.1.1 2.1.2 5.1.1 5.1.3 | สอบปลายภาค | 17 | 30% |
3 | 1.1.3 2.1.2 3.1.1 3.1.2 4.1.1 4.1.2 6.1.1 | แบบฝึกหัด การวิเคราะห์กรณีศึกษา และการทดสอบย่อยในชั้นเรียน | ตลอดภาคการศึกษา | 10% |
4 | 1.1.3 2.1.2 3.1.1 3.1.2 4.1.1 4.1.2 6.1.1 | รายงานประจำภาคเรีน | ตลอดภาคการศึกษา | 20% |
5 | 1.1.1 1.1.2 4.1.2 | การเข้าเรียน การมีส่วนร่วม | ตลอดภาคการศึกษา | 10% |
เอกสารประกอบการสอน รายวิชาการเงินธุรกิจสมัยใหม่ (Modern Business Finance) เรียบเรียงโดย อาจารย์เบญญาภา กันทะวงศ์วาร
การจัดการการเงิน. (2556). นนทบุรี: สำนักพิมพ์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
ฐาปนา ฉิ่นไพศาล. (2521). การเงินธุรกิจ. กรุงเทพฯ: หจก. ยงพลเทรดดิ้ง.
ภาพร สูทกวาทิน. (2543). การเงินธุรกิจ. กรุงเทพฯ: ห้างหุ้นส่วนจำกัด มณฑลการพิมพ์.
วิมล ประคัลภ์พงศ์, สมชาย เบ็ญจววรรณ์, สุรชัย ภัทรบรรเจิด. (2546). การเงินธุรกิจ. กรุงเทพฯ: บริษัท สำนักพิมพ์สุภา จำกัด.
สมนึก เอื้อจิระพงษ์พันธ์. (2551). หลักการบัญชีบริหาร. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แมคกรอ-ฮิล.
อภิชาติ พงศ์สุพัฒน์. (2551). การเงินธุรกิจ. กรุงเทพฯ: บริษัท วชิรินทร์สาส์น พริ้นท์ติ้ง จำกัด.
อาณัต ลีมัคเดช. (2561). การวิเคราะห์ความเป็นไปได้ทางการเงินของโครงการ. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ เกรท ไอเดีย.
เฉลิมขวัญ ครุธบุญยงค์. (2556). การเงินธุรกิจ. กรุงเทพฯ: บริษัท ซีเอ็ดยูเคชั่น จำกัด (มหาชน).
เพชรี ขุมทรัพย์. (2548). หลักการบริหารการเงิน. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต.
อิงอร นาชัยฤทธ. (2556). ตารางปัจจัยดอกเบี้ยมูลค่าเงิน. สืบค้น 27 พฤษภาคม 2564, จาก https://nachailit.files.wordpress.com/2011/11/17-appendix.pdf
J. Ashok Robin. (2011). International Corporate Finance. Retrieved from The McGraw-Hill Companies, Inc.
Karen Berman & Miles Cook. (2561). คัมภีร์การเงินจากมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด[HBR Guide to Finance Basics for Managers](คมสัน ขจรชีพพันธุ์งาม, แปล). กรุงเทพฯ: บริษัท เอ็กซเปอร์เน็ท จำกัด. (ต้นฉบับพิมพ์ปี ค.ศ. 2012).
Robert Cinnamon & Brian Helweg-Larsen. (2550). เข้าใจการเงินธุรกิจแบบมืออาชีพ[How to Understand Business Finance](ดนิตา ธนาปุระ, แปล). สมุทรปราการ: บริษัท เกียวโด เนชั่น พริ้นติ้ง เซอร์วิส จำกัด. (ต้นฉบับพิมพ์ปี ค.ศ. 2007).
ฐาปนา ฉิ่นไพศาล. (2521). การเงินธุรกิจ. กรุงเทพฯ: หจก. ยงพลเทรดดิ้ง.
ภาพร สูทกวาทิน. (2543). การเงินธุรกิจ. กรุงเทพฯ: ห้างหุ้นส่วนจำกัด มณฑลการพิมพ์.
วิมล ประคัลภ์พงศ์, สมชาย เบ็ญจววรรณ์, สุรชัย ภัทรบรรเจิด. (2546). การเงินธุรกิจ. กรุงเทพฯ: บริษัท สำนักพิมพ์สุภา จำกัด.
สมนึก เอื้อจิระพงษ์พันธ์. (2551). หลักการบัญชีบริหาร. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แมคกรอ-ฮิล.
อภิชาติ พงศ์สุพัฒน์. (2551). การเงินธุรกิจ. กรุงเทพฯ: บริษัท วชิรินทร์สาส์น พริ้นท์ติ้ง จำกัด.
อาณัต ลีมัคเดช. (2561). การวิเคราะห์ความเป็นไปได้ทางการเงินของโครงการ. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ เกรท ไอเดีย.
เฉลิมขวัญ ครุธบุญยงค์. (2556). การเงินธุรกิจ. กรุงเทพฯ: บริษัท ซีเอ็ดยูเคชั่น จำกัด (มหาชน).
เพชรี ขุมทรัพย์. (2548). หลักการบริหารการเงิน. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต.
อิงอร นาชัยฤทธ. (2556). ตารางปัจจัยดอกเบี้ยมูลค่าเงิน. สืบค้น 27 พฤษภาคม 2564, จาก https://nachailit.files.wordpress.com/2011/11/17-appendix.pdf
J. Ashok Robin. (2011). International Corporate Finance. Retrieved from The McGraw-Hill Companies, Inc.
Karen Berman & Miles Cook. (2561). คัมภีร์การเงินจากมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด[HBR Guide to Finance Basics for Managers](คมสัน ขจรชีพพันธุ์งาม, แปล). กรุงเทพฯ: บริษัท เอ็กซเปอร์เน็ท จำกัด. (ต้นฉบับพิมพ์ปี ค.ศ. 2012).
Robert Cinnamon & Brian Helweg-Larsen. (2550). เข้าใจการเงินธุรกิจแบบมืออาชีพ[How to Understand Business Finance](ดนิตา ธนาปุระ, แปล). สมุทรปราการ: บริษัท เกียวโด เนชั่น พริ้นติ้ง เซอร์วิส จำกัด. (ต้นฉบับพิมพ์ปี ค.ศ. 2007).
www.sec.or.th
หนังสือพิมพ์ธุรกิจต่าง ๆ เช่น ประชาชาติธุรกิจ ฐานเศรษฐกิจ ผู้จัดการ ฯลฯ
วารสาร นิตยสาร บทความหรืองานวิจัยต่าง ๆ ทางการเงิน และ เว็บไซด์ทางธุรกิจ เว็บไซด์ทางธุรกิจ
หนังสือพิมพ์ธุรกิจต่าง ๆ เช่น ประชาชาติธุรกิจ ฐานเศรษฐกิจ ผู้จัดการ ฯลฯ
วารสาร นิตยสาร บทความหรืองานวิจัยต่าง ๆ ทางการเงิน และ เว็บไซด์ทางธุรกิจ เว็บไซด์ทางธุรกิจ
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
การประเมินตามผลลัพธ์การเรียนรู้โดยนักศึกษา หรือ การประเมินการสอนโดยนักศึกษา (ประเมินผ่านระบบมหาวิทยาลัย) หรือ การเขียนสะท้อนความคิดเห็น ข้อเสนอแนะจากนักศึกษา หลังจบบทเรียนในรายวิชา
การประเมินตามผลลัพธ์การเรียนรู้โดยนักศึกษา หรือ การประเมินการสอนโดยนักศึกษา (ประเมินผ่านระบบมหาวิทยาลัย) หรือ การเขียนสะท้อนความคิดเห็น ข้อเสนอแนะจากนักศึกษา หลังจบบทเรียนในรายวิชา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
2.1 การประเมินตนเองหลังการสอน และการทำกิจกรรมในชั้นเรียนแต่ละครั้งโดยผู้สอน หรือ
2.2 การประเมินตนเองหลังการสอน จากผลการเรียนของนักศึกษา พิจารณาจากคะแนนสอบ รายงานหรือโครงการที่ได้รับมอบหมาย
2.1 การประเมินตนเองหลังการสอน และการทำกิจกรรมในชั้นเรียนแต่ละครั้งโดยผู้สอน หรือ
2.2 การประเมินตนเองหลังการสอน จากผลการเรียนของนักศึกษา พิจารณาจากคะแนนสอบ รายงานหรือโครงการที่ได้รับมอบหมาย
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
3.1 การประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (Knowledge Management) ร่วมกันระหว่างผู้สอน เพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
3.1 การประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (Knowledge Management) ร่วมกันระหว่างผู้สอน เพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
การทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในรายวิชา โดยการแต่งตั้งกรรมการผู้รับผิดชอบ กรรมการบริหารหลักสูตร และกรรมการสาขาวิชาในสาขาวิชา เป็นผู้ดำเนินการ ดังนี้
4.1 การประเมินตามผลลัพธ์การเรียนรู้ โดยนักศึกษา
4.2 การประเมินการสอน โดยนักศึกษา (ประเมินผ่านระบบของมหาวิทยาลัย)
4.3 การวิเคราะห์ความสอดคล้อง/เกณฑ์การประเมิน ตาม มคอ. 3/ มคอ. 5 โดยคณะกรรมการทวนสอบ
4.4 การประเมินข้อสอบ การปฏิบัติงาน และรายงานโครงการ การให้คะแนน ที่มาของเกรด โดยอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร หรือสาขาวิชา
4.1 การประเมินตามผลลัพธ์การเรียนรู้ โดยนักศึกษา
4.2 การประเมินการสอน โดยนักศึกษา (ประเมินผ่านระบบของมหาวิทยาลัย)
4.3 การวิเคราะห์ความสอดคล้อง/เกณฑ์การประเมิน ตาม มคอ. 3/ มคอ. 5 โดยคณะกรรมการทวนสอบ
4.4 การประเมินข้อสอบ การปฏิบัติงาน และรายงานโครงการ การให้คะแนน ที่มาของเกรด โดยอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร หรือสาขาวิชา
จากผลการประเมิน และการทวนสอบผลสัมฤทธิ์รายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
5.1 รายงานผลการทวนสอบฯ ต่อคณะกรรมการผู้รับผิดชอบหลักสูตร/สาขาวิชา
5.2 นำผลการทวนสอบฯ ไปรายงานใน มคอ.5 และจัดทำแผนปรับปรุง มคอ.3 ในครั้งต่อไป โดยอาจารย์ผู้สอน
5.3 นำผลการทวนสอบไปปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตร โดยหัวหน้าหลักสูตร
5.1 รายงานผลการทวนสอบฯ ต่อคณะกรรมการผู้รับผิดชอบหลักสูตร/สาขาวิชา
5.2 นำผลการทวนสอบฯ ไปรายงานใน มคอ.5 และจัดทำแผนปรับปรุง มคอ.3 ในครั้งต่อไป โดยอาจารย์ผู้สอน
5.3 นำผลการทวนสอบไปปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตร โดยหัวหน้าหลักสูตร