สหกิจศึกษาสำหรับการปฏิบัติงานด้านต่างประเทศ

Cooperative Education in International Affairs

เพื่อให้นักศึกษาได้ฝึกปฏิบัติงานด้านภาษาอังกฤษในสถานประกอบการที่ประสานความร่วมมือกับมหาวิทยาลัย ระยะเวลา 1 ภาคการศึกษา หรือไม่ต่ำกว่า 450 ชั่วโมง มีการวางแผนร่วมกันในการคัดเลือกนักศึกษาการกำหนดลักษณะงาน แผนการปฏิบัติงาน การแก้ไขปัญหาและการประเมินผลเสมือนเป็นพนักงานเต็มเวลา โดยมีพนักงานของสถานประกอบการที่ได้รับมอบหมายเป็นที่ปรึกษาให้แก่นักศึกษา นักศึกษาจัดทำรายงานภายหลังเสร็จสิ้นการปฏิบัติงาน
เพื่อให้เป็นวิชาที่นักศึกษาได้บูรณาการความรู้ที่ได้ศึกษามาทั้งหมด ประยุกต์ใช้กับการปฏิบัติงานจริงในสถานประกอบการ จะเป็นการเพิ่มพูนประสบการณ์ตรง ทำงานเป็นทีม เป็นการเตรียมความพร้อมและปรับตัวให้สามารถทำงานได้จริงเมื่อสำเร็จการศึกษา ภายใต้การดูแลของพนักงานพี้เลี้ยงจากสถานประกอบการและอาจารย์ที่ปรึกษา
ฝึกปฏิบัติงานด้านภาษาอังกฤษในสถานประกอบการที่ประสานความร่วมมือกับมหาวิทยาลัย ระยะเวลา 1 ภาคการศึกษา หรือไม่ต่ำกว่า 16 สัปดาห์ หรือไม่ต่ำกว่า 450 ชั่วโมงมีการวางแผนร่วมกันในการคัดเลือกนักศึกษาการกำหนดลักษณะงาน แผนการปฏิบัติงาน การแก้ไขปัญหาและการประเมินผลเสมือนเป็นพนักงานเต็มเวลา โดยมีพนักงานของสถานประกอบการที่ได้รับมอบหมายเป็นที่ปรึกษาให้แก่นักศึกษา นักศึกษาจัดทำรายงานภายหลังเสร็จสิ้นการปฏิบัติงาน
1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์
2.1.1.1 มีความรู้ความเข้าใจในหลักจริยธรรม คุณธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ ทางธุรกิจ มีจิตส านึกสาธารณะ ตระหนักในคุณค่าของคุณธรรมจริยธรรม เสียสละ ไม่เอารัดเอาเปรียบ ซื่อสัตย์สุจริตทั้งต่อตนเองและผู้อื่น 2.1.1.2 มีความพอเพียง มีวินัย ขยัน อดทน เพียรพยายาม ตรงต่อเวลา รับผิดชอบ ต่อตนเอง วิชาชีพ สังคมส่วนรวม และสิ่งแวดล้อม 2.1.1.3 มีความเคารพต่อกฎระเบียบ และข้อบังคับต่างๆ ขององค์กรและสังคม 94 2.1.1.4 มีภาวะความเป็นผู้น าและผู้ตาม สามารถท างานเป็นทีม และสามารถ แก้ไขข้อขัดแย้งและล าดับความส าคัญ 2.1.1.5 มีทัศนคติที่ดีต่อวิชาชีพ เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ 2.1.1.6 สามารถวิเคราะห์ผลกระทบจากการใช้คอมพิวเตอร์ต่อบุคคลองค์กร และสังคม
2.1.2.1 จัดกิจกรรมในรายวิชาเพื่อส่งเสริมให้นักศึกษามีจิตสาธารณะ และ ตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม 2.1.2.2 สอดแทรกหลักจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพในเนื้อหารายวิชา 2.1.2.3 สร้างวัฒนธรรมองค์กรเพื่อปลูกฝังให้นักศึกษามีระเบียบวินัย ขยัน อดทน มีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม มีความรับผิดชอบในการท างานกลุ่ม ปลูกฝังจิตส านึกในการ อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม 2.1.2.4 ส่งเสริมให้นักศึกษารับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น เคารพในคุณค่าและ ศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ รู้หน้าที่ของการเป็นผู้น าและการเป็นสมาชิกของกลุ่ม ยกย่อง และเชิดชูผู้ที่ท า ความดีและเสียสละ
2.1.3.1 การเข้าร่วมกิจกรรมในรายวิชาที่ส่งเสริมให้นักศึกษามีจิตสาธารณะ และตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม 2.1.3.2 การประเมินจากแบบทดสอบ 2.1.3.3 การตรงเวลาของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามก าหนด ระยะเวลาที่มอบหมาย และการเข้าร่วมกิจกรรม 2.1.3.4 การสังเกตพฤติกรรมในการท างานเป็นกลุ่ม
2.2.1.1 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการ ทฤษฎี และการปฏิบัติที่ ส าคัญในเนื้อหาของสาขาวิชาที่ศึกษา สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์ อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องได้อย่างเหมาะสม และพัฒนาความรู้ ติดตาม ความก้าวหน้าทางวิชาการได้อย่างต่อเนื่อง 2.2.1.2 มีความรู้และความเข้าใจในสาระส าคัญของศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง ประยุกต์ใช้ความรู้ ทักษะ ในการวิเคราะห์ปัญหา เข้าใจและอธิบายความต้องการที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาที่ ศึกษา รวมทั้งประยุกต์ความรู้ ทักษะ และสามารถเลือกใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับการแก้ปัญหาและการ ด ารงชีวิตประจ าวัน 2.2.1.3 มีความรู้และความเข้าใจในสาระส าคัญเกี่ยวกับกระบวนการ บริหารธุรกิจในด้านการวางแผน การจัดโครงสร้างองค์กร การปฏิบัติการ การควบคุมและผลการด าเนินงาน รวมทั้งการปรับปรุงแผนงานให้สอดคล้องกับสถานการณ์ 2.2.1.4 มีความรู้เกี่ยวกับความก้าวหน้าทางวิชาการและวิชาชีพด้าน บริหารธุรกิจ รวมทั้งมีความเข้าใจในสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงและผลกระทบอย่างเท่าทัน 2.2.1.5 สามารถวิเคราะห์ ออกแบบ ติดตั้ง ปรับปรุงและ/หรือประเมินระบบ องค์ประกอบต่างๆ ของระบบคอมพิวเตอร์ให้ได้ตรงตามข้อก าหนด 2.2.1.6 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและวิวัฒนาการคอมพิวเตอร์ รวมทั้งการน าไปประยุกต์ 2.2.1.7 รู้ เข้าใจ และสนใจพัฒนาความรู้ ความช านาญทางคอมพิวเตอร์อย่าง ต่อเนื่อง 2.2.1.8 มีความรู้ในแนวกว้างของสาขาวิชาที่ศึกษาเพื่อให้เล็งเห็นการ เปลี่ยนแปลง และเข้าใจผลกระทบของเทคโนโลยีใหม่ๆ ที่เกี่ยวข้อง
2.2.1.9 มีประสบการณ์ในการพัฒนาและ/หรือการประยุกต์ซอฟต์แวร์ที่ใช้ใน งานได้จริง  
2.2.2.1 จัดรูปแบบการเรียนการสอนที่หลากหลายโดยเน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ ตามลักษณะของรายวิชา และเนื้อหาสาระของรายวิชานั้นๆ 2.2.2.2 จัดให้มีการเรียนรู้จากสถานการณ์จริง โดยการศึกษาดูงาน หรือการเชิญ ผู้เชี่ยวชาญมาเป็นวิทยากรให้ความรู้ 2.2.2.3 จัดกิจกรรมให้นักศึกษาได้ประยุกต์ใช้ความรู้ในการฝึกปฏิบัติ ในสภาพแวดล้อมจริง 2.2.2.4 มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม น าเสนอ และถ่ายทอดความรู้ แก่เพื่อนร่วมชั้นเรียนหรือผู้สนใจทั่วไป
2.2.3.1 การทดสอบย่อยกลางภาคและปลายภาค 2.2.3.2 รายงานสรุปองค์ความรู้ที่ได้จากการเข้าร่วมกิจกรรมหรือการน าความรู้ ไปตอบในแบบทดสอบ 2.2.3.3 ผลการฝึกปฏิบัติในสภาพแวดล้อมจริง 2.2.3.4 ผลงานจากการค้นคว้าและการน าเสนอ  
2.3.1.1 สามารถสืบค้น ตีความ วิเคราะห์ข้อมูล และประเมินสารสนเทศ จากหลายแหล่ง เพื่อใช้ในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ ตามสถานการณ์แวดล้อมทางธุรกิจ และการ ตัดสินใจอย่างเหมาะสมด้วยตนเอง 2.3.1.2 สามารถคิดค้นทางเลือก วิเคราะห์ทางเลือก และผลกระทบจาก ทางเลือกอย่างรอบด้าน มีความสามารถในการตัดสินใจเลือกทางเลือกที่สอดคล้องกับสถานการณ์ ท าให้เกิด การได้เปรียบทางการแข่งขันทางธุรกิจ 2.3.1.3 คิดอย่างมีวิจารณญาณและเป็นระบบ สร้างสรรค์และมีเหตุผล สามารถ บูรณาการความรู้จากสาขาวิชาชีพที่ศึกษาและประสบการณ์ เพื่อใช้ในการแก้ปัญหาทางธุรกิจและ สถานการณ์ทั่วไป 2.3.1.4 สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และสรุปประเด็นปัญหา และความต้องการ 2.3.1.5 สามารถประยุกต์ความรู้และทักษะกับการแก้ไขปัญหาทางคอมพิวเตอร์ ได้อย่างเหมาะสม
2.3.2.1 จัดให้นักศึกษาได้ฝึกประสบการณ์ในสถานประกอบการตามหลักบูรณาการ การเรียนการสอนกับการท างาน 2.3.2.2 จัดกิจกรรมที่ส่งเสริมการคิดวิเคราะห์และทักษะการแก้ไขปัญหาอย่าง เป็นระบบจากกรณีศึกษา
2.3.2.3 จัดกิจกรรมให้นักศึกษาได้ฝึกปฏิบัติผ่านทางบทบาทสมมุติใน สถานการณ์จ าลอง
2.3.3.1 ประเมินตามสภาพจริงจากผลงานและการปฏิบัติของนักศึกษา เช่น ในสถานประกอบการ 2.3.3.2 การเลือกใช้ภาษาเพื่อคิดวิเคราะห์ แก้ไขปัญหา และสื่อสารในบริบทต่างๆ 2.3.3.3 การใช้ภาษาของนักศึกษาในบทบาทสมมุติหรือสถานการณ์จ าลอง
2.4.1.1 มีภาวะความเป็นผู้น าและผู้ตาม สามารถท างานเป็นทีมอย่างมีความ รับผิดชอบ ยอมรับฟังและเคารพความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม และสามารถปรับตัวเชิงวิชาชีพได้ 2.4.1.2 มีความสามารถในการแสดงความริเริ่ม แสดงความคิดเห็นต่าง และ แสดงความคิดเห็นใหม่ๆ ได้อย่างสร้างสรรค์ เอื้อต่อการแก้ไขปัญหาของทีม สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มา ช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม 2.4.1.3 มีความสามารถในการประสานงาน การมอบหมายบทบาทหน้าที่และ ความรับผิดชอบ พร้อมทั้งให้ความช่วยเหลือและอ านวยความสะดวกต่อเพื่อนร่วมงานในการแก้ปัญหา สถานการณ์ต่างๆ ทั้งในบทบาทของผู้น า และในบทบาทของผู้ร่วมทีมท างาน 2.4.1.4 มีความรับผิดชอบในการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเองและทางวิชาชีพ อย่างต่อเนื่อง 2.4.1.5 สามารถสื่อสารทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศกับกลุ่มคน หลากหลายได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2.4.1.6 มีความรับผิดชอบในการกระท าของตนเองและรับผิดชอบงานในกลุ่ม 2.4.1.7 สามารถเป็นผู้ริเริ่มแสดงประเด็นในการแก้ไขสถานการณ์ทั้งส่วนตัวและ ส่วนรวม พร้อมทั้งแสดงจุดยืนอย่างพอเหมาะทั้งของตนเองและของกลุ่ม
2.4.2.1 สอดแทรกความรู้เกี่ยวกับหลักมนุษยสัมพันธ์และมารยาททางสังคมที่ดี ของวัฒนธรรมต่างๆ ในเนื้อหารายวิชาที่เกี่ยวข้อง
2.4.2.2 จัดให้นักศึกษาได้ท ากิจกรรมเป็นกลุ่ม โดยเปลี่ยนบทบาทให้มีโอกาส เป็นทั้งผู้น าและผู้ตาม 2.4.2.3 จัดให้นักศึกษาได้ท ากิจกรรมที่ส่งเสริมทักษะการแก้ปัญหาอย่างเป็น ระบบและการอภิปรายเพื่อหาข้อสรุป 2.4.2.4 มอบหมายให้นักศึกษาได้เข้าร่วมในการบริการวิชาการแก่สังคมร่วมกับ อาจารย์และผู้เกี่ยวข้อง
2.4.3.1 การทดสอบย่อย กลางภาค และปลายภาค 2.4.3.2 พฤติกรรมการท ากิจกรรมกลุ่มของนักศึกษา 2.4.3.3 พฤติกรรมการท างานเป็นทีมของนักศึกษา 2.4.3.4 พฤติกรรมและผลการประเมินการให้บริการวิชาการของนักศึกษา
2.5.1.1 สามารถประยุกต์ใช้หลักคณิตศาสตร์ สถิติ การวิเคราะห์เชิงปริมาณ มา ใช้ในการวิเคราะห์และตัดสินใจทางธุรกิจ และชีวิตประจ าวัน 2.5.1.2 สามารถสื่อสารเพื่ออธิบายและสร้างความเข้าใจ โดยใช้รูปแบบของสื่อ เทคนิค วิธีการ เครื่องมือสื่อสาร และเทคโนโลยีได้อย่างถูกต้อง ทั้งในรูปแบบการเขียนรายงาน และการ น าเสนอด้วยวาจาที่เหมาะสมอย่างมีประสิทธิภาพและสร้างสรรค์ 2.5.1.3 สามารถสื่อสารภาษาไทยและภาษาต่างประเทศที่จ าเป็นต่อการท าธุรกิจ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2.5.1.4 มีทักษะการใช้เครื่องมือที่จ าเป็นที่มีอยู่ในปัจจุบันต่อการท างานที่ เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ 2.5.1.5 สามารถแนะน าประเด็นการแก้ปัญหาโดยใช้สารสนเทศทางคณิตศาสตร์ หรือการแสดงสถิติประยุกต์ต่อปัญหาที่เกี่ยวข้องอย่างสร้างสรรค
2.5.1.6 สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างเหมาะสม และสามารถน า เทคโนโลยีไปใช้สนับสนุนการด าเนินงานของธุรกิจได้อย่างมีประสิทธิภาพ
2.5.2.1 สอดแทรกความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเครื่องมือในการ ติดต่อสื่อสารการค้นคว้าข้อมูล และการน าเสนอผลงานในเนื้อหาของรายวิชาที่เกี่ยวข้อง 2.5.2.2 จัดกิจกรรมให้นักศึกษาใช้เครื่องมือเทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้น ศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อแก้ไขปัญหาต่างๆ จากกรณีศึกษา 2.5.2.3 จัดให้นักศึกษาได้ฝึกใช้ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศในการสื่อสาร ในสถานการณ์ และวัฒนธรรมที่หลากหลาย
.5.3.1 การทดสอบย่อย กลางภาค และปลายภาค 2.5.3.2 ผลงานของนักศึกษาจากงานที่ได้รับมอบหมาย 2.5.3.3 พฤติกรรมและความสามารถในการใช้ภาษาของนักศึกษาเพื่อสื่อสาร ในสถานการณ์ต่างๆ
2.6.1.1 สามารถปฏิบัติงานโดยน าองค์ความรู้มาบูรณาการร่วมกับศาสตร์ที่ ศึกษาได้อย่างเหมาะสม 2.6.1.2 สามารถปฏิบัติงานโดยใช้องค์ความรู้และประสบการณ์ในศาสตร์ที่ศึกษา มาใช้เป็นแนวทางในการด าเนินงานเพื่อสนับสนุนการด าเนินงานของธุรกิจ น ามาใช้แก้ไขปัญหา ค้นคว้าวิจัย ตลอดจนพัฒนาตนเอง ชุมชน และสังคมได้อย่างถูกต้อง 2.6.1.3 สามารถปรับตัวเข้าสู่สังคมชีวิต สังคมการท างาน สังคมข้ามวัฒนธรรม ได้อย่างเหมาะสม และมีความพอเพียงในการดำเนินชีวิต
2.6.1.4 สามารถปฏิบัติงานโดยใช้ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์อย่างเป็นระบบ แก้ปัญหาเชิงบูรณาการได้ด้วยการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ ตีความ อย่างมีเหตุผล 2.6.1.5 สามารถปฏิบัติงานโดยยึดถือแนวทางความคิด วิเคราะห์ บนพื้นฐานของ ความเป็นไทย
2.6.2.1 สอดแทรกการพัฒนาทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ในกิจกรรม ต่างๆ ในชั้นเรียน 2.6.2.2 จัดกิจกรรมเสริมหลักสูตรให้นักศึกษาได้ฝึกปฏิบัติงานจริง 2.6.2.3 สนับสนุนให้นักศึกษาฝึกปฏิบัติงานนอกชั้นเรียน
2.6.3.1 การทดสอบย่อย กลางภาค และปลายภาค 2.6.3.2 ผลงานของนักศึกษาจากงานที่ได้รับมอบหมาย 2.6.3.3 พฤติกรรมและความสามารถในการใช้ภาษาของนักศึกษาเพื่อสื่อสาร ในสถานการณ์ต่างๆ
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรมจริยธรรม 2. ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6 คิดอย่างมีวิจารณญาณและเป็นระบบ สร้างสรรค์และมีเหตุผล สามารถบูรณาการความรู้จากสาขาวิชาชีพที่ ศึกษาและประสบการณ์ เพื่อใช้ในการแก้ปัญหาทางธุรกิจและสถานการณ์ทั่วไป
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา มีความรู้ความเข้าใจในหลักจริยธรรม คุณธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ ทางธุรกิจ มีจิตส านึกสาธารณะ ตระหนักในคุณค่าของคุณธรรมจริยธรรม เสียสละ ไม่เอารัดเอาเปรียบ ซื่อสัตย์สุจริตทั้งต่อตนเองและผู้อื่น มีความพอเพียง มีวินัย ขยัน อดทน เพียรพยายาม ตรงต่อเวลา รับผิดชอบ ต่อตนเอง วิชาชีพ สังคมส่วนรวม และสิ่งแวดล้อม มีความเคารพต่อกฎระเบียบ และข้อบังคับต่างๆ ขององค์กรและสังคม มีภาวะความเป็นผู้น าและผู้ตาม สามารถท างานเป็นทีม และสามารถ แก้ไขข้อขัดแย้งและล าดับความส าคัญ มีทัศนคติที่ดีต่อวิชาชีพ เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย สามารถวิเคราะห์ผลกระทบจากการใช้คอมพิวเตอร์ต่อบุคคลองค์กร และสังคม มีความรู้และความเข้าใจในสาระส าคัญของศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง ประยุกต์ใช้ความรู้ ทักษะ ในการวิเคราะห์ปัญหา เข้าใจและอธิบายความต้องการที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาที่ ศึกษา รวมทั้งประยุกต์ความรู้ ทักษะ และสามารถเลือกใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับการแก้ปัญหาและการ ด ารงชีวิตประจ าวัน มีความรู้และความเข้าใจในสาระส าคัญเกี่ยวกับกระบวนการ บริหารธุรกิจในด้านการวางแผน การจัดโครงสร้างองค์กร การปฏิบัติการ การควบคุมและผลการด าเนินงาน รวมทั้งการปรับปรุงแผนงานให้สอดคล้องกับสถานการณ มีความรู้เกี่ยวกับความก้าวหน้าทางวิชาการและวิชาชีพด้าน บริหารธุรกิจ รวมทั้งมีความเข้าใจในสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงและผลกระทบอย่างเท่าทัน คิดอย่างมีวิจารณญาณและเป็นระบบ สร้างสรรค์และมีเหตุผล สามารถ บูรณาการความรู้จากสาขาวิชาชีพที่ศึกษาและประสบการณ์ เพื่อใช้ในการแก้ปัญหาทางธุรกิจและ สถานการณ์ทั่วไป สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และสรุปประเด็นปัญหา และความต้องการ มีภาวะความเป็นผู้น าและผู้ตาม สามารถท างานเป็นทีมอย่างมีความ รับผิดชอบ ยอมรับฟังและเคารพความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม และสามารถปรับตัวเชิงวิชาชีพได มีความสามารถในการแสดงความริเริ่ม แสดงความคิดเห็นต่าง และ แสดงความคิดเห็นใหม่ๆ ได้อย่างสร้างสรรค์ เอื้อต่อการแก้ไขปัญหาของทีม สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มา ช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม มีความสามารถในการประสานงาน การมอบหมายบทบาทหน้าที่และ ความรับผิดชอบ พร้อมทั้งให้ความช่วยเหลือและอ านวยความสะดวกต่อเพื่อนร่วมงานในการแก้ปัญหา สถานการณ์ต่างๆ ทั้งในบทบาทของผู้น า และในบทบาทของผู้ร่วมทีมท างาน มีความรับผิดชอบในการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเองและทางวิชาชีพ อย่างต่อเนื่อง สามารถสื่อสารทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศกับกลุ่มคน หลากหลายได้อย่างมีประสิทธิภาพ ความรับผิดชอบในการกระท าของตนเองและรับผิดชอบงานในกลุ่ม สามารถเป็นผู้ริเริ่มแสดงประเด็นในการแก้ไขสถานการณ์ทั้งส่วนตัวและ ส่วนรวม พร้อมทั้งแสดงจุดยืนอย่างพอเหมาะทั้งของตนเองและของกลุ่ม สามารถสื่อสารภาษาไทยและภาษาต่างประเทศที่จ าเป็นต่อการท าธุรกิจ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างเหมาะสม และสามารถน า เทคโนโลยีไปใช้สนับสนุนการด าเนินงานของธุรกิจได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถปรับตัวเข้าสู่สังคมชีวิต สังคมการท างาน สังคมข้ามวัฒนธรรม ได้อย่างเหมาะสม และมีความพอเพียงในการด าเนินชีวิต สามารถปฏิบัติงานโดยใช้ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์อย่างเป็นระบบ แก้ปัญหาเชิงบูรณาการได้ด้วยการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ ตีความ อย่างมีเหตุผล สามารถปฏิบัติงานโดยยึดถือแนวทางความคิด วิเคราะห์ บนพื้นฐานของ ความเป็นไทย
1 BOAEC122 สหกิจศึกษาสำหรับการปฏิบัติงานด้านต่างประเทศ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 สถานประกอบการและอาจารย์นิเทศประเมินนักศึกษาอัตราส่วน 50 : 50 50 : 50 (นิเทศครั้งที่ 1: 20 นิเทศครั้งที่ 2: 20 นำเสนอการฝึกหสหกิจ: 10) (สถานประกอบการ 50)
ไม่มี
ไม่มี
ไม่มี
การประเมินอาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชา และประเมินสถานประกอบการจากการนเิทศ
การนิเทศ 2 ครั้ง การทำโครงงาน การนำเสนอผลการดำเนินงาน คะแนนการเข้าร่วมโครงการปฐมนิเทศปัจฉิมนิเทศ ร่วมกับคะแนนจากสถานประกอบการ
อาจารย์ผู้นิเทศต้องได้รับการอบรมอาจารย์นิเทศสหกิจศึกษาจากสมาคมสหกิจศึกษาไทย
อาจารย์ตรวจนิเทศนักศึกษา และการายงานผลการฝึกสหกิจ วันปัจฉิมนเิทศ