พื้นฐานการสร้างตัวแบบและการวางแผนธุรกิจ
Introduction to Business Model and Planning
1.เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจในองค์ประกอบที่สำคัญของการวางแผนทางธุรกิจหลักการเขียนแผนธุรกิจ การวิเคราะห์สถานการณ์ทางธุรกิจ แผนการผลิต แผนการจัดการทรัพยากรย์มนุษย์ แผนทางการเงิน แผนฉุกเฉิน ตลอดจนหาแหล่งทุน การประเมินความเป็นไปได้ของแผนธุรกิจ โดยเน้นการนำเสนอแผนธุรกิจจริง
2.เพื่อให้ผู้เรียนสามารถเข้าใจในการประยุกต์ใช้ประโยชน์จากแผนธุรกิจได้จริง
3.เพื่อให้ผู้เรียนสามารถวางแผนและสร้างตัวแบบธุรกิจได้อย่างมีประสิทธิภาพ
2.เพื่อให้ผู้เรียนสามารถเข้าใจในการประยุกต์ใช้ประโยชน์จากแผนธุรกิจได้จริง
3.เพื่อให้ผู้เรียนสามารถวางแผนและสร้างตัวแบบธุรกิจได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1. เพื่อให้นักศึกษาได้พัฒนาการเขียนแผนธุรกิจได้อย่างมีประสิทธิภาพ
2. เพื่อให้นักศึกษาสามารถนำแผนธุรกิจไปใช้ได้จริงอย่างมีประสิทธิภาพ
2. เพื่อให้นักศึกษาสามารถนำแผนธุรกิจไปใช้ได้จริงอย่างมีประสิทธิภาพ
ศึกษาเกี่ยวกับแนวคิด ความสำคัญ และประโยชน์ของแผนธุรกิจ หลักการเขียนแผนธุรกิจในภาวะการแข่งขันในอุตสาหกรรม การวิเคราะห์สถานการณ์ธุรกิจ การวางแผนในการดำเนินธุรกิจ ประกอบด้วยวิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมาย กลยุทธ์ทางธุรกิจ การจัดการองค์การ การตลาดและการขาย การผลิต การบัญชีและการเงิน การฝึกปฏิบัติในพื้นฐานการวางแผนและการสร้างตัวแบบธุรกิจ
- อาจารย์ประจำรายวิชา ประกาศเวลาให้คำปรึกษาผ่านช่องทางออนไลน์
- อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
1. คุณธรรม จริยธรรม
1.1 คุณธรรม จริยธรรม ที่ต้องพัฒนา พัฒนาผู้เรียนมีความรู้เข้าใจในพื้นฐานทางด้านบริหารธุรกิจ มีคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ ตลอดจนสามารถปรับตัว ดำเนินชีวิตร่วมกันในสังคมอย่างมีความสุข ตามคุณสมบัติหลักสูตร ดังนี้ 1.1.1 มีความรู้เข้าใจในหลักจริยธรรม คุณธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพทางธุรกิจ มีจิตสำนึกสาธารณะ ตระหนักในคุณค่าของคุณธรรมจริยธรรมเสียสละ ไม่เอารัดเอาเปรียบ ซื่อสัตย์สุจริตต่อตนเองและผู้อื่น 1.1.2 มีความพอเพียง มีวินัย อดทน เพียรพยายาม ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเอง วิชาชีพ สังคม ส่วนรวมและสิ่งแวดล้อม มีความสำนึกรับผิดชอบต่อส่วนรวมและสิ่งแวดล้อม 1.1.3 มีความเคารพต่อกฏระเบียบ และข้อบังคับต่างๆขององค์กรและสังคม 1.1.4 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีม และสามารถแก้ไขข้อขัดแย้ง และลำดับความสำคัญ 1.1.5 มีทัศนคติที่ดีต่อวิชาชีพ เคาระสิทธิและรับฟังความดิดเห็นของผู้อื่น
1.1 คุณธรรม จริยธรรม ที่ต้องพัฒนา พัฒนาผู้เรียนมีความรู้เข้าใจในพื้นฐานทางด้านบริหารธุรกิจ มีคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ ตลอดจนสามารถปรับตัว ดำเนินชีวิตร่วมกันในสังคมอย่างมีความสุข ตามคุณสมบัติหลักสูตร ดังนี้ 1.1.1 มีความรู้เข้าใจในหลักจริยธรรม คุณธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพทางธุรกิจ มีจิตสำนึกสาธารณะ ตระหนักในคุณค่าของคุณธรรมจริยธรรมเสียสละ ไม่เอารัดเอาเปรียบ ซื่อสัตย์สุจริตต่อตนเองและผู้อื่น 1.1.2 มีความพอเพียง มีวินัย อดทน เพียรพยายาม ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเอง วิชาชีพ สังคม ส่วนรวมและสิ่งแวดล้อม มีความสำนึกรับผิดชอบต่อส่วนรวมและสิ่งแวดล้อม 1.1.3 มีความเคารพต่อกฏระเบียบ และข้อบังคับต่างๆขององค์กรและสังคม 1.1.4 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีม และสามารถแก้ไขข้อขัดแย้ง และลำดับความสำคัญ 1.1.5 มีทัศนคติที่ดีต่อวิชาชีพ เคาระสิทธิและรับฟังความดิดเห็นของผู้อื่น
1.2.1 บรรยายพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษา เกี่ยวกับประเด็นทางจริยธรรมที่เกี่ยวข้องกับ
1.2.2 อภิปรายกลุ่ม
1.2.3 กำหนดให้นักศึกษาหาตัวอย่างที่เกี่ยวข้อง หรือกำหนดบทบาทสมมุติ
1.3.1 พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
1.3.2 มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม
1.3.3 ประเมินผลการวิเคราะห์กรณีศึกษา
1.3.4 ประเมินผลการนำเสนอรายงานที่มอบหมาย
2. ความรู้
2.1. ผลการเรียนรู้ด้านความรู้
2.1.1. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการ ทฤษฎี และปฏิบัติที่สำคัญในเนื้อหาของสาขาวิชาที่ศึกษา สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้องได้อย่างเหมาะสม และพัฒนาความรู้ ติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการได้อย่างต่อเนื่อง
2.1.2 มีความรู้และความเข้าใจในสาระสำคัญของศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง ประยุกต์ใช้ความรู้ ทักษะในการวิเคราะห์ปัญหา เข้าใจและอธิบายความต้องการที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาที่ศึกษา รวมทั้งประยุกต์ความรู้ทักษะและสามารถเลือกใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับการแก้ปัญหาและการดำรงชีวิตประจำวัน
2.1.3 มีความรู้และความเข้าใจในสาระสำคัญเกี่ยวกับกระบวนการบริหารธุรกิจในด้านการวางแผน การจัดโครงสร้างองค์การ การปฏิบัติการ การควบคุมและการดำเนินงาน รวมทั้งการปรับปรุงแผนงานให้สอดคล้องกับสถานการณ์
2.1.4 มีความรู้เกี่ยวกับความก้าวหน้าทางวิชาการและวิชาชีพด้านบริหารธุรกิจ รวมทั้งมีความเข้าใจในสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงและผลกระทบอย่างเท่าทัน
2.1. ผลการเรียนรู้ด้านความรู้
2.1.1. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการ ทฤษฎี และปฏิบัติที่สำคัญในเนื้อหาของสาขาวิชาที่ศึกษา สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้องได้อย่างเหมาะสม และพัฒนาความรู้ ติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการได้อย่างต่อเนื่อง
2.1.2 มีความรู้และความเข้าใจในสาระสำคัญของศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง ประยุกต์ใช้ความรู้ ทักษะในการวิเคราะห์ปัญหา เข้าใจและอธิบายความต้องการที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาที่ศึกษา รวมทั้งประยุกต์ความรู้ทักษะและสามารถเลือกใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับการแก้ปัญหาและการดำรงชีวิตประจำวัน
2.1.3 มีความรู้และความเข้าใจในสาระสำคัญเกี่ยวกับกระบวนการบริหารธุรกิจในด้านการวางแผน การจัดโครงสร้างองค์การ การปฏิบัติการ การควบคุมและการดำเนินงาน รวมทั้งการปรับปรุงแผนงานให้สอดคล้องกับสถานการณ์
2.1.4 มีความรู้เกี่ยวกับความก้าวหน้าทางวิชาการและวิชาชีพด้านบริหารธุรกิจ รวมทั้งมีความเข้าใจในสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงและผลกระทบอย่างเท่าทัน
จัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
มอบหมายให้ทำแบบฝึกหัด หรือรายงาน และนำเสนอหน้าชั้นเรียน
ประเมินจากสอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี
ประเมินจากงานที่มอบหมาย และการนำเสนอหน้าชั้นเรียน
3. ทักษะทางปัญญา
3.1 ผลการเรียนรู้ด้านทักษะทางปัญญา
3.1.1 สามารถสืบค้น ตีความ วิเคราะห์ข้อมูล และประเมินสาระสนเทศ จากหลายแหล่งเพื่อใช้ในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ ตามสถานการณ์แวดล้อมทางธุรกิจ และการตัดสินใจอย่างเหมาะสมด้วยตนเอง
3.1.2 สามารถคิดค้นทางเลือก วิเคราะห์ทางเลือก และผลกระทบจากทางเลือกอย่างรอบด้านมีความสามารถในการตัดสินใจเลือกทางเลือกที่สอดคล้องกับสถานการณ์ ทำให้เกิดการได้เปรียบทางการแข่งขันทางธุรกิจ
3.1.3 คิดอย่างมีวิจารณญาณและเป็นระบบ สร้างสรรค์ และมีเหตุผล สามารถบูรณาการความรู้จากสาขาวิชาชีพที่ศึกษา และประสบการณ์เพื่อใช้ในการแก้ปัญหาทางธุรกิจและสถานการณ์ทั่วไป
3.1.4 สามารถรวบรวท ศึกษา วิเคราะห์ และสรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ
3.1 ผลการเรียนรู้ด้านทักษะทางปัญญา
3.1.1 สามารถสืบค้น ตีความ วิเคราะห์ข้อมูล และประเมินสาระสนเทศ จากหลายแหล่งเพื่อใช้ในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ ตามสถานการณ์แวดล้อมทางธุรกิจ และการตัดสินใจอย่างเหมาะสมด้วยตนเอง
3.1.2 สามารถคิดค้นทางเลือก วิเคราะห์ทางเลือก และผลกระทบจากทางเลือกอย่างรอบด้านมีความสามารถในการตัดสินใจเลือกทางเลือกที่สอดคล้องกับสถานการณ์ ทำให้เกิดการได้เปรียบทางการแข่งขันทางธุรกิจ
3.1.3 คิดอย่างมีวิจารณญาณและเป็นระบบ สร้างสรรค์ และมีเหตุผล สามารถบูรณาการความรู้จากสาขาวิชาชีพที่ศึกษา และประสบการณ์เพื่อใช้ในการแก้ปัญหาทางธุรกิจและสถานการณ์ทั่วไป
3.1.4 สามารถรวบรวท ศึกษา วิเคราะห์ และสรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ
วิเคราะห์กรณีศึกษา เกี่ยวกับการสร้างตัวแบบ และการเขียนแผนธุรกิจเพื่อประยุกต์ใช้ในธุรกิจและการค้า
ประเมินจากกรณีศึกษา
4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
4.1 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ที่ต้องพัฒนา
4.1.1 มีภาวะความเป้นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมอย่างมีความรับผิดชอบ ยอมรับฟังและเคารพความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม และสามารถปรับตัวเชิงวิชาชีพได้
4.1.2 มีความสามารถในการแสดงความคิดริเริ่ม แสดงความคิดเห็นต่าง และแสดงความคิดเห็นใหม่ๆ ได้อย่างสร้างสรรค์ เอื้ต่อการแก้ไขปัญหาของทีมสามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม และพร้อมพัฒนาการเรียนรู้ของตนเองอย่างต่อเนื่อง
4.1.3 มีความสามารถในการประสานงาน การมอบหมายบทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบพร้อมทั้งช่วยเหลือและอำนวยความสะดวกต่อเพื่อนร่วมงาน ในการแก้ปัญหาสถานการณ์ต่างๆ ทั้งในบทบาทของผู้นำและในบทบาทของผู้ร่วมทีมทำงาน
4.1 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ที่ต้องพัฒนา
4.1.1 มีภาวะความเป้นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมอย่างมีความรับผิดชอบ ยอมรับฟังและเคารพความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม และสามารถปรับตัวเชิงวิชาชีพได้
4.1.2 มีความสามารถในการแสดงความคิดริเริ่ม แสดงความคิดเห็นต่าง และแสดงความคิดเห็นใหม่ๆ ได้อย่างสร้างสรรค์ เอื้ต่อการแก้ไขปัญหาของทีมสามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม และพร้อมพัฒนาการเรียนรู้ของตนเองอย่างต่อเนื่อง
4.1.3 มีความสามารถในการประสานงาน การมอบหมายบทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบพร้อมทั้งช่วยเหลือและอำนวยความสะดวกต่อเพื่อนร่วมงาน ในการแก้ปัญหาสถานการณ์ต่างๆ ทั้งในบทบาทของผู้นำและในบทบาทของผู้ร่วมทีมทำงาน
จัดกิจกรรมกลุ่ม ในการวิเคราะห์กรณีศึกษา
มอบหมายงานรายกลุ่ม
ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ
สังเกตพฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
5.1 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา
5.1.1 สามารถประยุกต์ใช้หลักคณิตศาสตร์ สถิติ การวิเคราะห์เชิงปริมาณ มาใช้ในการวิเคราะห์และตัดสินใจทางธุรกิจ และชีวิตประจำวัน
5.1.2 สามารถสื่อสารเพื่ออธิบาย และสร้างความเข้าใจ โดยใช้รูปแบบของสื่อเทคนิควิธีการเครื่องมือสื่อสารและเทคโนโลยีได้อย่างถูกต้อง ทั้งในรูปแบบการเขียนรายงาน และการนำเสนอด้วยวาจาที่เหมาะสมอย่างมีประสิทธิภาพและสร้างสรรค์
5.1.3 สามารถสื่อสารภาษาไทยและภาษาต่างประเทศที่จำเป็นต่อการทำธุรกิจได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5.1.4 สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างเหมาะสม และสามารถนำเทคโนโลยีไปใช้สนับสนุนการดำเนินงานของธุรกิจได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5.1 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา
5.1.1 สามารถประยุกต์ใช้หลักคณิตศาสตร์ สถิติ การวิเคราะห์เชิงปริมาณ มาใช้ในการวิเคราะห์และตัดสินใจทางธุรกิจ และชีวิตประจำวัน
5.1.2 สามารถสื่อสารเพื่ออธิบาย และสร้างความเข้าใจ โดยใช้รูปแบบของสื่อเทคนิควิธีการเครื่องมือสื่อสารและเทคโนโลยีได้อย่างถูกต้อง ทั้งในรูปแบบการเขียนรายงาน และการนำเสนอด้วยวาจาที่เหมาะสมอย่างมีประสิทธิภาพและสร้างสรรค์
5.1.3 สามารถสื่อสารภาษาไทยและภาษาต่างประเทศที่จำเป็นต่อการทำธุรกิจได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5.1.4 สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างเหมาะสม และสามารถนำเทคโนโลยีไปใช้สนับสนุนการดำเนินงานของธุรกิจได้อย่างมีประสิทธิภาพ
มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าทางอินเทอร์เน็ต และทำรายงานโดยให้ความสำคัญในการอ้างอิงแหล่งที่มาของข้อมูล
ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี
6. ด้านทักษะพิสัย
6.1 ผลการเรียนรู้ด้านทักษะพิสัย
6.1.1.สามารถปฏิบัติงานโดยนำองค์ความรู้มาบูรณาการร่วมกับศาสตร์ที่ ศึกษาได้อย่างเหมาะสม
6.1.2.สามารถปฏิบัติงานโดยใช้องค์ความรู้และประสบการณ์ในศาสตร์ที่ ศึกษามาใช้เป็นแนวทางในการดำเนินงานเพื่อสนับสนุนการดำเนินงานของธุรกิจ นำมาใช้แก้ไขปัญหา ค้นคว้าวิจัย ตลอดจนพัฒนาตนเอง ชุมชน และสังคมได้อย่างถูกต้อง
6.1.3.สามารถปรับตัวเข้าสู่สังคมชีวิต สังคมการทำงาน สังคมข้าม วัฒนธรรมได้อย่างเหมาะสม และมีความพอเพียงในการดำเนินชีวิต
6.1.4.สามารถปฏิบัติงานโดยใช้ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์อย่างเป็นระบบ แก้ปัญหาเชิงบูรณาการได้ด้วยการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ ตีความ อย่างมีเหตุผล
6.1 ผลการเรียนรู้ด้านทักษะพิสัย
6.1.1.สามารถปฏิบัติงานโดยนำองค์ความรู้มาบูรณาการร่วมกับศาสตร์ที่ ศึกษาได้อย่างเหมาะสม
6.1.2.สามารถปฏิบัติงานโดยใช้องค์ความรู้และประสบการณ์ในศาสตร์ที่ ศึกษามาใช้เป็นแนวทางในการดำเนินงานเพื่อสนับสนุนการดำเนินงานของธุรกิจ นำมาใช้แก้ไขปัญหา ค้นคว้าวิจัย ตลอดจนพัฒนาตนเอง ชุมชน และสังคมได้อย่างถูกต้อง
6.1.3.สามารถปรับตัวเข้าสู่สังคมชีวิต สังคมการทำงาน สังคมข้าม วัฒนธรรมได้อย่างเหมาะสม และมีความพอเพียงในการดำเนินชีวิต
6.1.4.สามารถปฏิบัติงานโดยใช้ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์อย่างเป็นระบบ แก้ปัญหาเชิงบูรณาการได้ด้วยการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ ตีความ อย่างมีเหตุผล
- จัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้นักศึกษาได้วิเคราะห์สถานการณ์จำลอง และนำเสนอแนวทางแก้ปัญหาที่เหมาะสม
- ผลงานและการปฏิบัติงานของนักศึกษา จากการจำลองในสถานการณ์ และความสามารถในการนำเสนอแนวทางแก้ปัญหาที่เหมาะสม
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา | 1.ด้านคุณธรรมจริยธรรม | 2.ด้านความรู้ | 3.ด้านทักษะทางปัญญา | 4.ด้านทักษะควมสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและคงวามรับผิดชอบ | 5.ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ | 6.ทักษะการปฏิบัติงานในวิชาชีพ ได้อย่างมืออาชีพ (Hands-on) | ||||||||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ลำดับ | รหัสวิชา | ชื่อวิชา | 1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 1 | 2 | 3 | 4 | 1 | 2 | 3 | 4 | 1 | 2 | 3 | 1 | 2 | 3 | 4 | 1 | 2 | 3 | 4 |
1 | BBACC123 | พื้นฐานการสร้างตัวแบบและการวางแผนธุรกิจ |
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล |
---|---|---|---|---|
1 | การทดสอบ - การสอบกลางภาค - การสอบปลายภาค | 8,16 | 30% 30% | |
2 | แบบฝึกหัด การวิเคราะห์กรณีศึกษา รายงาน และนำเสนอในชั้นเรียน - แบบฝึกหัด / กรณีศึกษา (เดี่ยว, กลุ่ม) | ตลอดภาคการศึกษา | 30% | |
3 | การเข้าชั้นเรียน - การเข้าชั้นเรียน / การมีส่วนร่วม / การเข้าร่วมกิจกรรม การสังเกตพฤติกรรม และผลการปฏิบัติระหว่างเรียน | ตลอดภาคการศึกษา | 10% |
ชัยเสฎฐ์ พรหมศรี. (2554).วิธีเขียนแผนธุรกิจ =Business plan.กรุงเทพฯ : เอ็กซเปอร์เน็ท .
วีรวุธ มาฆะศิรานนท์.(2555).วิธีเขียนแผนธุรกิจ =Business plan.กรุงเทพฯ : เอ็กซเปอร์เน็ท .
วีรวุธ มาฆะศิรานนท์.(2555).วิธีเขียนแผนธุรกิจ =Business plan.กรุงเทพฯ : เอ็กซเปอร์เน็ท .
-คู่มือการเขียนแผนธุรกกิจ(สำนักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม)
-เว็บซต์http://sme.go.th/ (สำนักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม)
-เว็บซต์http://sme.go.th/ (สำนักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม)
-ค้นหาข้อมูลจากเว็บไซต์ที่เกี่ยวข้องกับรายวิชา การวางแผนธุรกิจ การสร้างกลยุทธ์ทางธุรกิจ การสร้างตัวแบบทางธุริจ และการวางแผนธุรกิจโดยใช้ Business Model Canva
-Youtube business canvas
-Youtube business canvas
การประเมินประสิทธิผลของรายวิชาโดยนักศึกษาได้มีการจัดกิจกรรมในการนำเสนอแนวความคิดและความคิดเห็น ดังนี้
- การสนทนากลุ่มและการตอบประเด็นซักถามระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
- แบบประเมินผู้สอนที่คณะจัดทาขึ้น
- สังเกตพฤติกรรมกลุ่มและรายบุคคล
ผลการสอบ การสนทนาระหว่างผู้สอนและผู้เรียน การประเมินผู้สอนและผู้เรียนรายวิชาเช่น การทดสอบระหว่างเรียน สังเกตปฏิกิริยา feed back ของนักศึกษาที่มีต่ออาจารย์
หลังจากได้มีการดาเนินการสอนไปแล้วในหน่วยที่ 4 จึงได้มีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
-โดยการให้ใบงาน ให้นักศึกษารวมกลุ่มและระดมสมองกันว่าจะทำแผนธุรกิจอะไรและ
ให้หาข้อมูลเพิ่มเติม ดังนี้ -หาผ่าน web site และ ไปหาข้อมูลจากผู้ประกอบการในชุมชน
- ให้วิเคราะห์กรณีศึกษา โดยการรวมกลุ่มและระดมความคิด โดยให้หาข้อมูลในห้องสมุด
หรือ web site
ในระหว่างกิจกรรมการเรียนการสอน ได้มีการทบทวนโดยการสอบในรายหัวข้อตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยการทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน สอบถามนักศึกษา ตรวจผลงานนักศึกษา สอบระหว่างภาคเรียนและปลายภาคเรียน และหลังจากนั้นได้มีการออกผลการเรียนโดยมีการตรวจข้อสอบแล้วให้คะแนนโดยอาจารย์ผู้สอนผ่านไปยังหัวหน้าภาค, รองคณบดีฝ่ายวิชาการ,คณบดี
จากผลการประเมินและทวนผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชาของนักศึกษา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดรายวิชา เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพมากขึ้น ดังนี้
- ปรับปรุงแนวการสอนและวิธีการสอนทุก ๆ ภาคเรียนเพ่อให้นักศึกษาไม่เกิดความเบื่อหน่าย
- ปรับปรุงหลักสูตร/รายวิชาทุก ๆ 4 ปี เพื่อให้ทันสมัยและตรงกับตลาดแรงงาน
- ปรับเปลี่ยนผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมอง ทัศนคติ มีแนวคิดใหม่ ๆ จากผู้สอนหลาย ๆ ท่าน
- ผู้สอนต้องกระตือรือร้นในการค้นหาสิ่งแปลก ๆ ใหม่ ๆ ให้กับนักศึกษาอยู่ตลอดเวลา