การสื่อสารสำหรับงานออกแบบสื่อ

Communication for Media Design

1.1 เพื่อให้ทราบถึงแนวคิดเกี่ยวกับการสื่อสารตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน สังคม และวัฒนธรรม 
1.2 เพื่อให้มีความรู้เกี่ยวกับการสื่อสารยุคดิจิตอลและการสื่อสารเพื่อสันติยุคดิจิทัล 
1.3 เพื่อให้ทราบถึงความสัมพันธ์ระหว่างการสื่อสารและการออกแบบ 
1.4 เพื่อให้ทราบถึงการประยุกต์ใช้ความรู้เพื่องานออกแบบสื่อสารต่างๆ
เพื่อปรับปรุงเนื้อหาและปรับการเรียนการสอน การประเมินผล ให้เหมาะสมกับคำอธิบายรายวิชาใหม่ ประจำปีการศึกษา 1-2566
ศึกษาแนวคิดเกี่ยวกับการสื่อสารตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน สังคมและวัฒนธรรมการสื่อสารยุคดิจิตอล การสื่อสารเพื่อ สันติยุคดิจิทัล ความสัมพันธ์ระหว่างการสื่อสารและการออกแบบ การประยุกต์ใช้ความรู้เพื่องานออกแบบสื่อสารต่างๆ
นักศึกษาสามารถส่งคำปรึกษาถึงอาจารย์ผู้สอนผ่านระบบที่ทางหลักสูตรได้จัดช่องทางไว้
 
1) ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
2) มีทัศนคติที่เปิดกว้าง ยอมรับฟังแนวคิดของผู้อื่น
1) มอบหมายงานให้แสดงความคิดเห็นผ่านการเขียน 
2) การตรวจสอบการเข้าชั้นเรียน
3) การส่งงาน
1) บัญชีเข้าห้องเรียน 
2) การส่งงาน
3) การประเมินจากผลงาน
1) รอบรู้ในศาสตร์ทางหลักการสื่อสาร และศาสตรอื่นที่เกี่ยวข้องอื่นๆที่เกี่ยวข้องกับการสื่อสาร
2) มีความรู้ในด้านการออกแบบสื่อที่สัมพันธ์กับบริบททางสังคม ภูมิปัญญาและวัฒนธรรม
1) บรรยาย
2) กรณีศึกษา
3) งานมอบหมาย
1) สอบกลางภาคและปลายภาค
2) งานมอบหมาย
1) สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์ และเสนอแนวทางแก้ปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์
2) สามารถบูรณาการความรู้กับศาสตร์อื่นเพื่อสร้างสรรค์ผลงานทางวิชาการและวิชาชีพได้ 
1) แสดงความคิดเห็น
2) กรณีศึกษา 
3) การมอบหมายงาน 
ประเมินจากงานมอบหมาย
 
มีภาวะผู้นําเข้าใจบทบาทหน้าที่ของตนเอง รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น และมนุษยสัมพันธ์ที่ดี
1) มอบหมายกรณีศึกษา ให้แสดงความคิดเห็นและนำเสนอผ่านการเขียน
2) การนำเสนอในรูปแบบสื่อสิ่งพิมพ์
ประเมินจากการเขียน การวิพากษ์วิจารณ์ ผ่านสื่อต่างๆ
สามารถสื่อสารด้วยการพูด ฟัง อ่าน เขียนในการสื่อสารโดยทั่วไป ตลอดจนใช้วิธีการสื่อสารทางศิลปกรรม และนําเสนองานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าและนำเสนอในรูปแบบการเขียน  
ประเมินจากเนื้อหา
ไม่มี
ไม่มี
ไม่มี
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรม จริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 1 2 3
1 BAACD103 การสื่อสารสำหรับงานออกแบบสื่อ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.(1) และ 1.(3) การเข้าชั้นเรียนและการตรงต่อเวลา ตลอดภาคการศึกษา 10
2 2.(1) และ 2.(4) - การสอบย่อย - การสอบกลางภาคและปลายภาค 8, 9, 16 และ 18 50
3 3.(1), 3.(4) และ 5.(1) พิจารณาจากงานมอบหมายแบบเดี่ยว 10 และ 14 20
4 3.(1), 3.(4), 4.(1) และ 5.(1) พิจารณาจากงานมอบหมายแบบกลุ่ม 16 20
กิติมา สุรสนธิ.  (2548). ความรู้ทางการสื่อสาร. กรุงเทพฯ: คณะวารสารและสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
 
กาญจนา  มีศิลปวิกกัย. (2553). หลักและทฤษฎีการสื่อสาร. มหาวิทยาลัยศรีปทุม
 
รจิตลักขณ์  แสงอุไร. (2548). การสื่อสารของมนุษย์. กรุงเทพฯ: โครงการตำราและเอกสารทาง   วิชาการ คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
 
ศุภรัศมิ์  ฐิติกุลเจริญ. (2550). ทฤษฎีการสื่อสาร.  กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยรามคำแหง
ไม่มี
ไม่มี
เน้นการพัฒนาแบบมีส่วนร่วมของผู้เรียนโดยใช้วิธีการดังนี้
1.1 แบบประเมินผู้สอนและแบบประเมินรายวิชา
1.2 การแสดงความคิดเห็น
1.3 การประเมินตนเองของผู้เรียนผ่านแบบประเมินออนไลน์
2.1   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.2   ผลการประเมินตามข้อ 1
2.3   การพัฒนาการทำงานของนักศึกษา
2.4   อาจารย์ผู้สอนประเมินตัวเอง
1) ความพึงพอใจการสอนความเหมาะสมของการเตรียมการสอน
2) ข้อควรปรับปรุงในการสอนครั้งต่อไป
3.1  บันทึกการสอนเพื่อเสนอการปรับปรุงแก้ไข
3.2 การประชุมคณาจารย์เพื่อปรับปรุงการสอน  โดยใช้ข้อมูล ผลการประเมินของ  นักศึกษา  ผลการเรียนของนักศึกษา   การประเมินผลตนเอง  บันทึกการสอน
4.1 นักศึกษาประเมินตนเอง
4.2 ทวนสอบโดยกรรมการทวนสอบประจำหลักสูตร
          
  จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชาในภาคการศึกษาต่อไป  ในเรื่อง เนื้อหาเพิ่มเนื้อหาเรื่องการประยุกต์ใช้หลักการสื่อสารกับการออกแบบ  เพิ่มเรื่องการสื่อในบริษทวัฒนธรรม